วันพฤหัสบดีที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2551

วันจันทร์ที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2551

Parler de musique : พูดคุยเรื่องดนตรี

• Quel genre de musique est-ce que tu aimes ?
[เธอชอบดนตรีประเภทไหน]
- J'aime la musique pop mais je préfère la musique classique.
[ฉันชอบดนตรีป๊อปแต่ฉันชอบดนตรีคลาสสิคมากกว่า]


• Vous faites de la musique ?
[เธอเล่นดนตรีบ้างหรือเปล่า]
- Oui, je suis passionné par toutes sortes de musique.
[ครับ ผมหลงใหลในดนตรีทุกชนิด]


• Tu joues d'un instrument de musique ?
[เธอเล่นเครื่องดนตรีใดบ้างหรือเปล่า]
- Oui, je joue du piano, de la guitare et je fais aussi du violon.
[เล่น ฉันเล่นเปียโน, กีตาร์ และฉันเล่นไวโอลินด้วย]

วันจันทร์ที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2551

Lexique [คำศัพท์]

- une célébration = การเฉลิมฉลอง / célébler (v.) = ฉลอง, เฉลิมฉลอง

- un habitant = ประชากร

- un drapeau = ธงชาติ- une étoile = ดาว, ดวงดาว

- un homme politique = นักการเมือง / un politicien = นักการเมือง

- acier (n.m.) = เหล็กกล้า

- charbon (n.m.) = ถ่าน, ถ่านหิน

- un espoir = ความหวัง / espérer (v.) = หวัง, คาดหวัง

วันอาทิตย์ที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2551

สำนวน

1« Toucher du bois» : Conjurer du mauvais sort. [ขจัดปัดเป่าเวทย์มนต์หรือคำสาป]

2« Treize à la douzaine. » : Un grand nombre, beaucoup [มาก]

3« Tirer ses grègues. » : S' enfuir rapidement [หนีไปอย่างรวดเร็ว]

4« Tirer un (son) coup. » : Avoir un orgasme. (pour un homme) [ถึงจุดสุดยอด (สำหรับผู้ชาย)]

5« Tirer sur le volet. » : Choisir, sélectionner avec soin. [เลือกอย่างพิถีพิถัน]

6« Tirer le diable par la queue. » : Vivre avec des ressources insuffisantes. / Avoir des difficultés à subvenir à ses besoins. [อยู่อย่างลำบาก เงินไม่พอใช้]

วันอังคารที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2551

1« Vieux comme Hérode » : Très ancien, très vieux [เก่าแก่มาก]

2« En voiture, Simone ! » : Allons - y. Il est temps de commencer une action [เริ่มได้แล้ว / ถึงเวลาต้องลงมือแล้ว]

3« Vider son sac » : Dire tout ce qu'on pense, tout ce qu'on a sur le coeur (quitte à blesser) [พูดสิ่งที่คิด หรืออยู่ในใจทั้งหมด (เสี่ยงกับการที่จะทำให้ผู้อื่นเจ็บช้ำน้ำใจ)]

4« Vogue la galère ! » : Arrive ce qui pourra ! [อะไรจะเกิดก็เกิด]

5« Vendre la mèche ! » : Trahir un secret (d'un complot). [ทรยศต่อความลับ (จากการสมรู้ร่วมคิด]

6Un temps de chien » : Un très mauvais temps [อากาศไม่ดีเลย]

7 Un pavé dans la mare » : Quelque chose qui trouble une situation sans histoire, qui fait scandale, qui dérange une situation ou des habitudes bien tranquilles. [บางสิ่งที่ทำให้สิ่งที่เคยสงบสุข เกิดความวุ่นวาย, สิ่งที่รบกวนความสงบสุข]


8« Une république bananière » : Une 'république', un état, un gouvernement corrompu. [ประเทศ หรือรัฐบาลที่คอรัปชั่น]

9« Un baroud d'honneur » : Un combat desespéré, perdu d'avance, livré pour sauver l'honneur. [การต่อสู้ที่สิ้นหวัง, ที่แพ้ก่อนที่จะสู้ด้วยซ้ำ, ที่เพื่อกู้ศักดิ์ศรี]

10« Un foudre de guerre » : Une personne forte, capable, compétente. [คนที่แข็งแกร่ง, เก่ง, มีความสามารถ, มีทักษะ] / Un objet puissant, performant. [สิ่งที่มีพลัง, มีประสิทธิภาพ]

วันพฤหัสบดีที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2551

การเตรียมตัวก่อนสอบ

การเตรียมตัวก่อนสอบการสอบ Entrance
เป็นกิจกรรมที่น้อง ๆ ม.ปลาย ต้องเตรียมตัวให้พร้อมอยู่ตลอดเวลาโดยเฉพาะอย่างยิ่ง น้องที่กำลังศึกษาอยู่ ม. 6 ที่ต้องเก็บตัวเงียบเพื่อหาความรู้เพิ่มเติมให้มากในการนำไปสอบแข่งขัน เพื่อให้มีโอกาสเข้าเรียนในระดับมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงต่อไป หากน้อง ๆ มีทักษะในการทำข้อสอบมากพอ ก็จะทำให้เกิดความมั่นใจและประสบความสำเร็จได้ ในการที่จะทำข้อสอบให้ได้ผลเป็นที่น่าพอใจนั้น ต้องมีการวางแผนการศึกษาตั้งแต่เนิ่น ๆ ควรให้เวลากับการศึกษาอย่างถูกต้องและสม่ำเสมอ ซึ่งการสอบ Entrance ที่ผ่านมา น้อง ๆ แต่ละคนอาจจะมีเคล็ดลับการสอบที่แตกต่างกันแล้วแต่ว่าใครจะงัดอะไรออกมาสู้กัน (ด้วยความสุจริต) ซึ่งได้แก่ ทางไสยศาสตร์ การบนบานศาลกล่าว เพื่อเสริมสร้างกำลังใจ หรือ การมีเคล็ดลับการเดาข้อสอบต่าง ๆ ซึ่งก็แล้วแต่ความสะดวกของน้องๆ แต่ละคน ซึ่งฉบับนี้ได้นำเคล็ดลับง่าย ๆ สำหรับการสอบ Entrance มาฝากน้อง ๆ เพื่อให้การสอบเป็นไปอย่างราบรื่น
1. การเตรียมความพร้อมก่อนวันสอบ น้อง ๆ ต้องให้ความสำคัญกับตารางสอบให้มาก ๆ เพราะตารางสอบจะบ่งบอกถึง วัน เวลา วิชาที่สอบ และสถานที่สอบ ให้กับน้อง ๆ ตลอดจนการสำรวจสถานที่สอบก่อนไปสอบจริงด้วย เพราะหากน้อง ๆ ดูไม่ละเอียดถี่ถ้วนแล้ว นั่นหมายถึงว่าน้องได้ตัดโอกาสของตนเองด้วย ส่วนเรื่องอุปกรณ์ที่ใช้ในการสอบ เช่น ดินสอ 2B หรือมากกว่านั้น เอกสารต่าง ๆ ที่ใช้เป็นหลักฐานในการยืนยันว่าน้องเป็นคนสมัครและเป็นคนมาสอบด้วยตนเองให้พร้อม (ไม่ควรมาหาเอาตอนจะไปสอบจะไม่ทันกาล)
2. ความพร้อมของน้อง ๆ เอง โดยก่อนออกจากบ้านไปยังสถานที่สอบ น้อง ๆ ให้ความสำคัญกับการแต่งกายหรือยัง การแต่งกายต้องสุภาพเรียบร้อย (ชุดนักเรียน) ถูกต้องตามระเบียบการแต่งกายของนักเรียนระดับ ม. ปลายหรือยัง ถ้ายังสำรวจตัวเองก่อนที่คณะกรรมการผู้คุมสอบจะไม่อนุญาตให้เข้าห้องสอบนะคะ แล้วอย่าลืมอุปกรณ์และเอกสารที่เตรียมไว้นะ จะได้ไม่เสียเวลาและไม่ทำให้น้องหงุดหงิดได้ค่ะ อย่าลืมว่าต้องไปทักทายเพื่อน ๆ ก่อนเข้าห้องสอบประมาณครึ่งชั่วโมงด้วยนะ เพื่อลดความวิตกกังวลและรู้สึกผ่อนคลาย จะได้รู้สึกดีและมั่นใจในการสอบ
3. เมื่อเข้าห้องสอบนั่งนิ่ง ๆ ทำใจให้สบาย ฟังคำชี้แจงจากคณะกรรมการคุมสอบให้ละเอียด ไม่เข้าใจให้สอบถามทันที เขียนชื่อ - สกุล รหัส ในกระดาษคำตอบให้เรียบร้อยเสียก่อน เพราะถ้าลืม ต่อให้เก่งสักเท่าไร บวก ไสยศาสตร์ก็ช่วยอะไรน้อง ๆ ไม่ได้นะคะ
4. รวบรวมสติให้มั่น อ่านคำชี้แจงให้ชัดเจน และให้เข้าใจ พร้อมทั้งสำรวจว่าข้อสอบที่ได้มีจำนวนข้อ และจำนวนหน้าตรงตามคำชี้แจงที่ข้อสอบได้ระบุไว้หรือไม่ ถ้ามีปัญหาอะไรให้รีบแจ้งคณะกรรมการคุมสอบโดยเร็ว
5. น้องต้องวางแผนการใช้เวลาในการสอบทั้งหมด โดยคาดการณ์ว่าจะใช้เวลาในการทำข้อสอบข้อละกี่นาที จึงจะเสร็จ น้อง ๆ ควรควบคุมและใช้เวลาในการทำข้อสอบตามแผนที่วางไว้ เพราะเมื่อพบข้อที่ยาก อาจจะทำให้ทั้งเวลาและความรู้สึกของน้องเสียไปได้
6. ให้น้อง ๆ รีบจดสาระสำคัญ เช่น สูตร หรือข้อความที่ต้องใข้ในวิชานั้น ๆ ลงในกระดาษคำถามก่อนที่ความตื่นเต้นจะทำให้ลืมไปเสียก่อน (แล้วอย่าเผลอไปจดใส่กระดาษอื่น ๆ ล่ะ เดี๋ยวเจอข้อหาทุจริตได้ จะหาว่าไม่เตือน)
7. ให้น้อง ๆ เลือกทำข้อสอบในส่วนของข้อที่ง่ายก่อน แล้วค่อยทำข้อสอบในส่วนที่ยากต่อไป เพื่อให้เกิดความรู้สึกที่ดีต่อตนเอง ในสถานการณ์ที่พบข้อที่ยากให้ทำเครื่องหมายและข้ามไปทำข้อถัดไปก่อนแล้วจึงย้อนกลับมาทำใหม่ ให้น้อง ๆ ระวังข้อคำถามหรือต้องเลือกที่มีคำที่เป็นปฏิเสธ หรือปฏิเสธซ้อนปฏิเสธให้ใช้ความละเอียดรอบคอบในการพิจารณาความหมายที่ถูกต้อง เพราะจะทำให้เสียคะแนนได้
8. น้องควรใช้ความรู้ในการทำข้อสอบและไม่ต้องสนใจกับรูปแบบของข้อที่ตอบให้มากนัก เช่น ตอบข้อ ก แล้ว ข้อถัดไปไม่ควรจะเป็นข้อ ก อีก เป็นต้น ให้น้องคำนึงถึงตัวเนื้อหาที่เป็นคำตอบที่ถูกต้องดีกว่า เพราะถ้าน้องยึดติดกับตัวรูปแบบของการตอบแล้ว อาจทำให้พลาดจากคะแนนที่ต้องการได้ค่ะ
9. การตอบปกติแล้วคำตอบที่คิดไว้เป็นครั้งแรกมักจะเป็นคำตอบที่ถูก แต่ถ้าหากจะเปลี่ยนคำตอบ ควรเปลี่ยนเมื่อแน่ใจจริง ๆ ว่าที่ตอบมาแล้วตอบผิด แต่หากไม่แน่ใจให้น้องคงคำตอบเดิมไว้นะคะ ความรู้ไม่เข้าใครออกใคร ความคิดของน้องครั้งแรกจะเป็นจะเป็นตัวช่วยเพิ่มคะแนนให้น้อง ๆ ได้คะ ถ้าเวลาในการทำข้อสอบเหลือพอที่จะทบทวนให้น้องย้อนกลับไปทบทวนเฉพาะข้อที่ยากและไม่เข้าใจ เพื่อให้ได้คำตอบที่ถูกต้อง และถ้าข้อสอบที่มีตัวเลือกเหลือให้ต้องเดาต้องเดาอย่างมีหลักการของความถูกต้องนะคะ เพราะไม่งั้นคะแนนอาจติดลบได้ค่ะ แต่บางคนมีเคล็ดลับการเดาที่ดี คือ การมีพื้นฐาน ความรู้และประสบการณ์ ก็อาจทำแต้มขึ้นมาได้ค่ะ
10. แนวโน้มเนื้อหาในการสอบ Entrance และคะแนนของข้อสอบแต่ละวิชา จะมีน้ำหนักที่ต่างกันออกไป ค่าของคะแนนจะขึ้นอยู่กับความยากง่ายของเนื้อหาที่ออกเป็นส่วนใหญ่ ข้อสอบที่นิยมนำมาทดสอบน้อง ๆ จะมีอยู่ด้วยกัน 2 แบบ คือ ข้อสอบแบบ ปรนัย และ ข้อสอบแบบอัตนัย ซึ่งน้อง ๆ บางคนอาจจะสับสนกับ คำว่า "ปรนัย" และ "อัตนัย" อยู่บ้าง "ปรนัย" คือ ข้อสอบที่มีคำถาม พร้อมตัวเลือกให้เลือกตอบ จำนวน 4 ตัวเลือก (ระดับมัธยมศึกษา) และ "อัตนัย" คือ ข้อสอบที่มีคำถาม เพียงอย่างเดียว แล้วให้น้องหาคำตอบจากการแสดงวิธีทำ เพื่อให้ได้คำตอบที่ต้องการ ซึ่งโดยทั่ว ๆ ไปเนื้อหาของข้อสอบที่ใช้ จะวัดพฤติกรรมการเรียนรู้ ของผู้เรียนมากกว่า โดยใช้หลักการของนักจิตวิทยาการศึกษา ชื่อว่า Benjamin S. Bloom (น้อง ๆ คงจะคุ้นเคยกับชื่อนี้มาบ้างแล้ว) ซึ่ง Bloom เองได้กำหนด พฤติกรรมการเรียนรู้ ไว้ดังนี้
10.1 ความรู้ ความจำ หมายถึง การวัดความสามารถในการระลึกได้ถึงประสบการณ์ที่เคยศึกษา ความจำอาจเป็นการถามความเกี่ยวกับศัพท์ และนิยามกฎเกณฑ์ วิธีการ เป็นต้นโดยคำถามมักจะใช้คำว่า อะไร ที่ไหน อย่างไร
10.2 ความเข้าใจ หมายถึง การวัดความสามารถในการแปลความ ตีความ และขยายความ
10.3 การนำไปใช้ หมายถึง การนำหลักวิชาไปใช้ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ใหม่
10.4 การวิเคราะห์ หมายถึง ความสามารถในการแยกแยะส่วนต่าง ๆของเหตุการณ์หรือเรื่องราวว่าเป็นอย่างไร การวิเคราะห์ถึงความสำคัญ ความสัมพันธ์หรือหลักการเป็นต้น
10.5 การสังเคราะห์ หมายถึง ความสามารถในการรวบรวมสิ่งที่ศึกษาเข้าด้วยกันเป็นสิ่งใหม่ หรือรูปแบบใหม่ อาจเป็นการสังเคราะห์ข้อความ การวางแผนงานล่วงหน้าหรือความสัมพันธ์ เป็นต้น
10.6 การประเมินค่า หมายถึงความสามารถในการพิจารณาตัดสินเกี่ยวกับข้อมูลที่ได้ศึกษามาทั้งหมดว่าตัดสินได้ว่าอย่างไร โดยข้อสอบที่ นำมาทดสอบน้องในการสอบ Entrance แต่ละปีนั้น ก็มักจะนำพฤติกรรมการเรียนรู้ที่กล่าวมาแล้วข้างต้นมาเป็นตัวทดสอบความรู้ของน้อง ๆ เอง โดยที่น้องต้องรู้ว่าพฤติกรรมการเรียนรู้ที่ทางผู้ออกข้อสอบนำมาใช้นั้น เป็นแนวใด และมีลักษณะเช่นไรแล้ว จะทำให้น้อง ๆ มีแนวทางใน การเตรียมตัวอ่านหนังสือและเตรียมตัวสอบ Entrance ต่อไป
11. น้องๆ อย่าลืมตรวจสอบกระดาษคำตอบว่าได้ตอบทุกข้อคำถามและเลือกตอบเพียง 1 ตัวเลือกเท่านั้นก่อนส่งให้กรรมการคุมสอบด้วยนะคะ
12. หลังสอบเสร็จแล้วให้น้อง ๆ กลับไปทบทวนในข้อที่ยากหรือข้อที่ไม่แน่ใจทันที เพื่อเป็นการเรียนรู้จากข้อมูลที่ถูกต้องชัดเจนอีกครั้ง สำหรับในการสอบครั้งต่อไปน้อง ๆ บางคน อาจจะเห็นความสำคัญของเนื้อหาในเรื่องนี้เป็นแค่เรื่องธรรมดา แต่อย่าประมาทนะคะ เพราะความประมาททำให้พลาดโอกาสมานักต่อนักแล้ว เตรียมตัวกันไว้แต่เนิ่น ๆ จะทำให้ไปเดินโก้ในมหาวิทยาลัยได้ค่ะ"ความสำเร็จในทางการศึกษา มิได้มาเพราะโชคช่วย หรือด้วยคำพร่ำภาวนา แต่มาจากการไขว่คว้า พยายาม เอาจริงเอาจังและมีวินัย"(ผศ.ดร.วิวัฒน์ คล่องพานิช Zone นานาสาระเรื่อง ทำอย่างไรให้ Ent' ติด)ข้อมูลจาก www.eduzones.com
สาระที่ดีๆนำมาฝากเพื่อนกันนะจ๊ะ...
โชคดีกับการสอบทุกคนจ้า

วันศุกร์ที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2551

คำศัพท์

- retenir (v.) = จองไว้, สงวนไว้- guerre (n.f.) = สงคราม / faire la guerre = ทำสงคราม

- mondial, mondiale, mondiaux (adj.) = เกี่ยวกับโลก

- marquer (v.) = ตราไว้, แสดง, บันทึกไว้

- place (n.f.) = จตุรัส- bout (n.m.) = ปลาย- militaire (adj. et n.) = เกี่ยวกับทหาร

- ancien, ancienne (adj.) = เดิม, เก่า, โบราณ

- combattant (n.m.) = ผู้ต่อสู้, ผู้ไปรบ / combat (n.m.) = การต่อสู้ / combattre (v.) = ต่อสู้

- reconnaître (v.) = ยอมรับ- défaite (n.f.) = ความพ่ายแพ้

วันพุธที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2551

1« Se mettre martel en tête. » : Se faire du souci, se laisser obséder par une inquiétude [ปล่อยให้ตนเองถูกครอบงำด้วยความกังวล]

2« La montagne accouche d'une souris. » : Par rapport aux attentes ou à l' ambition d'un projet, le résultat est extrêmement décevant. [เมื่อเปรียบเทียบกับความคาดหวัง หรือ ความมุ่งมั่นของโครงการ ผลออกมาเป็นที่น่าผิดหวังอย่างยิ่ง

3« Mettre (avoir) du foin dans ses bottes. » : Accumuler (avoir) beaucoup d'argent. [เก็บ (มี) เงินได้มาก]

4« Mordre la poussière. » : Être jeté à terre au cours d'un combat. [ถูกส่งลงไปกองอยู่ที่พื้นตอนต่อสู้กัน (ภาษาไทย = กินฝุ่น)]Par extension [ความหมายที่ขยายออกไป] : Être vaincu. [แพ้, พ่ายแพ้]

5« Mettre sa main au feu. » : Être sûr de/affirmer fermement quelque chose. [มั่นใจ / ยืนยันอย่างหนักแน่น]

6« Mettre du beurre dans les épinards. » : Améliorer ses conditions de vie, gagner plus d'argent. [มีสภาพชีวิตที่ดีขึ้น, มีรายได้มากขึ้น]

7« Mettre en boîte. » : Se moquer de quelqu'un, de sa naïveté. [หัวเราะเยาะใคร (ในความซื่อของเขา)]Par extension, l'énerver. (ความหมายที่ขยายออกไป) [กวนประสาทใคร, ทำให้ใครหงุดหงิดหรือรำคาญ]

8« Se mettre le doigt dans l'oeil. » : Se tromper grossièrement. [ผิดพลาดแบบชุ่ยๆ]

9« Mon petit doigt m'a dit. » : Je l'ai appris ou entendu par une source que je ne veux pas dévoiler. [ฉันได้รู้หรือได้ยินมาจากแหล่งข่าวที่ฉันไม่อยากเปิดเผย] / Je soupçonne que tu veux me le cacher. [ฉันสงสัยว่าเธอคงอยากปิดบังสิ่งนั้นกับฉัน]

10« Marcher à côté de ses pompes. » : Faire n'importe quoi. / Être dans un état anormal (en train de rêver, mal réveillé, pas encore dégrisé, totalement déconcentré...).. [ทำอะไรชุ่ยๆ / อยู่ในสภาพไม่ปรกติ (กำลังฝัน, ยังไม่ตื่นดี, ยังไม่สร่างเมาหรือได้สติดี, ไม่มีสมาธิเลย)]
N

วันอาทิตย์ที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2551

- biodiversité (n.f.) = ความหลากหลายทางชีวภาพ [bio_ = เกี่ยวกับชีวะ / diversité = ความหลากหลาย]
- fait (n.f.) = เหตุการณ์ / du fait que = ด้วยเหตุที่...
- soit (subjonc. du verbe être)
- espèce (n.f.) = ชนิด, พันธุ์
- multiple (adj.) = หลากหลาย
- côte à côte (loc. adverbiale) = ที่อยู่ข้างๆกัน, เคียงข้างกัน
- les uns(les unes) les autres (loc. pronominale) = ซึ่งกันและกัน
- perdurer (v.) = คงอยู่ต่อไป, มีอยู่ต่อไป
- publier (v.) = พิมพ์, พิมเผยแพร่
- rapport (n.m.) = รายงาน
- alerter (v.) = เตือนภัย / alerte (n.f.) = การเตือนภัย
- chiffre (n.m.) = ตัวเลข
- menacer (v.) = ข่มขู่, คุกคาม

"คะแนนสอบ Admission ไทย - สังคม"

"คะแนนสอบ Admission ไทย - สังคม"
น้องๆ ที่กำลังเตรียมตัวสอบ Admission คงทราบกันดีว่า สัดส่วนคะแนน O-NET วิชาไทย + สังคม ค่อนข้างจะใช้เยอะพอสมควรทีเดียว ซึ่งถ้าเป็นไปได้ ครูอยากให้น้องๆทำคะแนน 2 วิชานี้กันให้ได้มากๆ ครูก็เลยช่วยสรุปให้ว่า คณะที่เราจะเข้านั้น จะต้องใช้เปอร์เซ็นต์คะแนนของทั้งวิชา ไทย และ สังคม เท่าไหร่ น้องๆ จะได้ดูแล้วเข้าใจง่ายขึ้น และไม่เสียเวลาด้วยล่ะ
1. ไทย + สังคม 14 %
- วิทย์สุขภาพ
- วิทย์
- บริหาร บัญชี เศรษฐศาสตร์
- ศิลปกรรมศาสตร์
- รัฐประศาสนศาสตร์ (รปส.)
- รัฐศาสตร์ปกครอง / บริหารรัฐกิจ ที่ไม่เลือกสอบ สังคม A-NET


2. ไทย + สังคม 16 %
- วิทย์กีฬา (แบบที่ 1)
- วิศวะ
- สถาปัตย์
- เกษตร
- ครุ (เอกที่ไม่ใช่ไทย - สังคม)


3. ไทย + สังคม 20 %
- สังคมวิทยา มนุษยวิทยา สังคมศาสตร์แบบที่ 2
- มนุษยศาสตร์ ศิลปศาสตร์ อักษรศาสตร์ ที่ไม่เลือกสอบ ไทย A-NET ,สังคม A-NET


4. ไทย + สังคม 24 %
- มนุษยศาสตร์ ศิลปศาสตร์ อักษรศาสตร์ (แบบที่ 3 , แบบที่ 4)


5. ไทย + สังคม 28 %
- สุขศึกษา และพลศึกษา
- การจัดการท่องเที่ยว
- นิเทศ - วารสาร
- สังคมวิทยา มนุษยวิทยา สังคมศาสตร์ (แบบที่ 1)
- มนุษยศาสตร์ ศิลปศาสตร์ อักษรศาสตร์ (แบบที่ 8 , แบบที่ 9)


6. ไทย + สังคม 30 %
- มนุษยศาสตร์ ศิลปศาสตร์ อักษรศาสตร์ (แบบที่ 1 , แบบที่ 2)


7. ไทย + สังคม 31.5 %
- รัฐศาสตร์ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ


8. ไทย + สังคม 36 %
- วิทย์กีฬา (แบบที่ 2)
- ครุศาสตร์ (เอกไทย , เอกสังคม , เลือกสอบ A-NET ไทย + สังคม)


9. ไทย + สังคม 37 %
- นิติศาสตร์


10. ไทย + สังคม 40 %
- สังคมสงเคราะห์


11. ไทย + สังคม 46 %
- มนุษยศาสตร์ ศิลปศาสตร์ อักษรศาสตร์ (แบบที่ 6 , แบบที่ 7)


12. ไทย + สังคม 49 %
- รัฐศาสตร์การปกครอง / บริหารรัฐกิจ เลือกสอบ สังคม A-NET


13. ไทย + สังคม 55 %
- มนุษยศาสตร์ ศิลปศาสตร์ อักษรศาสตร์ (แบบที่ 5)


วันศุกร์ที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2551

ฝรั่งเศสวันละสำนวน..

1.« La petite mort. » : L'orgasme [การถึงจุดสุดยอด]

2.« Les carottes sont cuites. » : Tout est pedu. Il n'y a plus aucun espoir. [สูญสิ้นหมดแล้ว, ไม่เหลือความหวังใดๆแล้ว]

3.« Larmes de crocodile. » : Larmes feintes destinées à émouvoir et tromper l'entourage. [(น้ำตาจระเข้) น้ำตาที่หลั่งจากการเสรแสร้ง เพื่อให้คนอื่นสะเทือนใจ และเป็นการหลอกลวงให้คนอื่นเข้าใจผิด]

4.« La croix et la bannière. » : De grande complications ou difficultés. [ยุ่งยากมาก, ปัญหาใหญ่มาก]

5.« La fin des haricots. » : La fin de tout. / La perte complète d'espoir. [การอวสานของทุกสิ่งทุกอย่าง / การสูญสิ้นความหวังโดยสิ้นเชิง]

6.« Langue de bois. » : Langage figé, coupé de la réalité, et qui véhicule, de manière artificielle, un message intentionnellement truqué. [ภาษาที่มีรูปแบบเฉพาะ ไม่ได้ใช้ในชีวิตจริง เป็นข้อความที่สื่อความหมายแฝง]

7.« Le roi n'est pas son cousin. » : Il est plus heureux (ou plus fier) qu'un roi. [เขามีความสุข (หรือ ภูมิใจ) มากกว่าราชา]

8.« Les doigts dans le nez. » : Sans effort, très facile. [โดยไม่ต้องใช้ความพยายาม, ง่ายมาก]

9.« Lever (soulever) un lièvre. » : Détecter une difficulté imprévue, s'en apercevoir avant les autres. [พบหรือเห็นปัญหาที่ไม่คาดคิดมาก่อน, รู้ถึงปัญหาก่อนผู้อื่น]

10.« Laisser pisser le mérinos . » : Laisser courir, laisser aller les choses, laisser faire. [ปล่อยให้สิ่งต่างๆดำเนินไป, ใครจะทำอะไรก็ปล่อยเขาทำไป]

วันพุธที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2551

คำศัพท์ [vocabulaire]

- défendre qqn / qqch (v.) = ปกป้อง, คุ้มครอง / défendre à qqn de + inf. = ห้ามไม่ให้ใครทำอะไร / défense (n.f.) = การปกป้องคุ้มครอง, การห้าม / défenseur (n.m.) = ผู้ปกป้อง, ผู้คุ้มครอง, ผู้ต่อสู้เพื่อปกป้อง...

- sans doute [= peut-être] = บางที, อาจจะ

- terme (n.m.) = 1. คำศัพท์, สำนวน 2. บั้นปลาย, ข้อกำหนด : C'est un projet à long terme. [นี่เป็นโครงการระยะยาว] / Mener quelque chose à terme = ดำเนินการจนสำเร็จลุล่วงไปด้วยดี : Il faut mener à terme la réforme. [เราต้องดำเนินการปฎิรูปให้สำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี]

- manifestation (n.f.) = การแสดงให้เห็น, การเดินขบวนคัดค้าน / manifester (v.) = แสดงให้เห็นถึง / manifestant (n.m.) = ผู้เดินขบวนคัดค้าน

- agression (n.m.) = การรุกราน, การเข้าทำร้าย / agresseur (n.m) = ผู้รุกราน / agressif (adj.) = ที่รุกราน, ที่ก้าวร้าว / agresser (v.) รุกราน, เข้าทำร้าย

วันอาทิตย์ที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2551

...........

1.« Il fait un temps de curé. » : Pour les marins, elle signifie que la mer est très calme. / Il fait un temps superbe. [(สำหรับคนเดินเรือ) ทะเลสงบมาก / อากาศดีมาก]


2.« Il ne faut pas prendre les gens pour des canards sauvages ! » : Il ne faut pas prendre les gens pour des imbéciles. / Il ne faut pas se moquer des gens. [อย่าดูถูกว่าคนอื่นเป็นคนโง่ / อย่าหัวเราะเยาะคนอื่น]

3.« Il est ballot. » : Il est niais, idiot, imbécile, borné, ou maladroit. [โง่, งี่เง่า, ปัญญาอ่อน ]


4.« Il y a (depuis) belle lurette. » : Il y a (depuis) bien longtemps. [นานมาแล้ว, เป็นเวลานานแล้ว]


5.« Il n'y a pas de rose sans épines. » : Toute joie comporte une peine. / Aucun plaisir n'est absolu. / Toutes belle chose cache un défaut. « ไม่มีกุหลาบใดที่ไร้หนาม » [ความสุข ความสนุกสนานทุกอย่าง มีความทุกข์อยู่ด้วยเสมอ, ไม่มีสุขใดล้วนๆ, ทุกสิ่งที่สวยงามมีข้อเสียหรือด้านไม่ดีแฝงอยู่ด้วยเสมอ]

..............

1.« Faire l'âne pour avoir du son. » : Faire l'imbécile ou le naïf pour obtenir quelque chose ou un avantage. [แสร้งทำเป็นโง่หรือซื่อเพื่อจะได้รับประโยชน์หรือบางสิ่งบางอย่าง]


2.« Famille tuyau de poêle. » : Famille qui pratique des relations sexuelles entre ses membres. [ครอบครัวที่สมาชิกมีเพศสัมพันธ์กันเอง]


3.« Finir en queue de poisson. » : Finir brutalement, de manière décevante, sans donner les résultats attendus. [จบแบบห้วนๆ แบบผิดความคาดหวัง]


4.« Faire le gros dos. » : 1. Se ramasser sur soi-même pour se protéger. [ถอยกลับมาตั้งหลัก]Prendre une attitude résignée pour laisser passer un moment désagréable. [ปลง หรือ ยอมรับว่ามันเป็นเช่นนั้น เพื่อให้ช่วงเวลาที่ลำบากใจผ่านพ้นไป]


5.« Faire devenir chèvre. » : Faire enrager. [ทำให้โกรธมาก, ทำให้บ้าคลั่ง]

วันอังคารที่ 18 มีนาคม พ.ศ. 2551

คำศัพท์ [Vocabulaire]
- cauchemar (n.m.) = ฝันร้าย / faire un cauchemar = ฝันร้าย # beau rêve = ฝันหวาน, ฝันดี : Tu vas te coucher ? Alors, fais de beaux rêves ! [เธอจะไปนอนแล้วหรือ ... งั้นก็ฝันดีนะ]
- poursuivre (v.) = ตาม, ติดตาม, ไล่ตาม
- attraper (v.) = จับ / rattraper (v.) = ไล่กวดให้ทัน
- sauver (v.) = ช่วยชีวิต
- emmener (v.) = พาไป / ammener (v.) = พามา
- vaisseau (n.) = กระสวย, จรวด, ยาน
- spatial (adj.) = ที่เกี่ยวกับอวกาศ
- autour (de + n. หรือ pronom) = รอบๆ
- extraterrestre (n.m.) = มนุษย์ต่างดาว
- entourer qqn / qqch (v.) = ล้อมรอบ / entourage (n.m.) = คนรอบข้าง
- menaçant (adj.) = ที่น่าเกรงกลัว, ที่ข่มขู่ / menacer qqn = / menacer de + v. = ขู่ที่จะ..., เสี่ยงต่อการ...
- sursaut (n.m.) = การทะลึ่งพรวดขึ้นมา, การผวาขึ้นมา / sursauter (v.) = ทะลึ่งพรวดขึ้นมา, ผวาขึ้นมา
- allumer (v.) = จุด, เปิดให้ติดขึ้น : Il fait nuit, je vais allumer la lumière. [มันมืด ฉันจะไปเปิดไฟ] / Tu allumes la télé s'il te plaît. Le feuilleton que j'aime commence ! [เธอช่วยเปิดโทรทัศน์ให้หน่อย ละครทีวีที่ฉันชื่นชอบมาแล้ว] / allumette (n.f.) = ไม้ขีดไฟ
- bruit (n.m.) = เสียงอึกทึก : Les enfants aiment faire du bruit. [เด็กๆชอบทำเสียงดัง]
- se coucher (v.) = นอน, นอนลง / se recoucher (v.) = กลับไปนอน / le coucher du soleil (n.m.) = การตกของดวงอาทิตย์, ดวงอาทิตย์ตกดิน : Tu aimes regarder le coucher du soleil ? [เธอชอบดูดวงอาทิตย์ตกดินไหม] / un sac de couchage = ถุงนอน
- avoir du mal à + inf. = ทำ...ได้ด้วยความลำบาก, ... ไม่ค่อยจะ... : Elle a eu un accident de moto et depuis elle a du mal à marcher. [หล่อนเคยประสบอุบัติเหตุรถจักรยานยนต์ และตั้งแต่นั้นมาหล่อนเดินได้ด้วยความลำบาก]
- endormir (v.) = ทำให้ง่วงนอน, ทำให้งีบหลับไป / s'endormir (v.) = งีบหลับไป / se rendormir (v.) = งีบหลับลงอีกครั้ง

วันอาทิตย์ที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551

ต้องการศึกษาเพิ่มเติมได้ที่...

ถ้าต้องการศึกษาเพิ่มเติมได้ที่ http://www.rn.ac.th/kk/ ของอาจารย์ เกรียงไกร ทองชื่นจิตค่ะ

สำนวนฝรั่งเศสหมวดEแล้วน่ะจ๊ะ

1
« Épée de Damoclè » : Péril imminent et constant. Danger qui plane sur quelqu'un. [อันตรายที่เกิดขึ้นได้ทุกเมื่อ]

2
« Être sous la coupe de quelqu'un. » : Être sous la dépendance ou l'influence de quelqu'un. [ขึ้นอยู่กับใคร หรื อยู่ภายใต้อิทธิพลของใคร]

3
« En écraser. » : Dormir profondément. [หลับสนิท]


4
« Être dans de beaux draps. » : Être dans une très mauvaise situation. / Être dans une position désagréable ou dangereuse. [ตกอยู่ในสถานการณ์ที่ไม่ดี หรือ อันตราย]

5
« Être un chaud lapin. » : Pour un homme, être très porté sur les plaisirs sexuels. [(สำหรับผู้ชาย) สนใจหรือหมกมุ่น มากในเรื่องความสุขทางเพศ]

6
« En deux coups de cuiller à pot. » : Très rapidement, sans difficulté apparente. [อย่างรวดเร็วมาก, โดยไม่มีปัญหา]

สำนวนฝรั่งเศษ..หมวดDแล้วน่ะ

1
« Dès potron-minet. » : Dès l'aube, le petit matin, les premières lueurs du jour. [ตั้งแต่เช้าตรู่]


2
« Demain, on rase gratis ! » : Faire des promesses que l'on ne tient pas. [ให้คำมั่นสัญญาแบบที่ไม่คิดจะยึดมั่น]


3
« Dépouiller / tuer le vieil homme (en nous). » : Se débarasser de ses mauvaises habitudes. /

Changer radicalement de vie. [สลัดทิ้งนิสัยเสียเดิมทิ้ง, เปลี่ยนรูปแบบชีวิตใหม่แบบหน้ามือเป็นหลังมือ]

4
« Danser devant le buffet. » : N'avoir rien à manger. [ไม่มีอะไรจะกิน]


5
« Donner de la confiture à un cochon. » : Donner quelque chose à quelqu'un qui ne le mérite pas,

qui ne sait pas l'apprécier ou qui n'en a aucune reconnaissance. [ให้บางสิ่งบางอย่างกับใครบางคนที่ไม่คู่ควร, ที่ไม่รู้จักคุณค่า, ที่ไม่รู้สำนึกบุญคุณ (= สุภาษิตไทย : ให้แก้วแหวนกับลิง ?)] / Gâcher quelque chose. [ทำให้เสียของ]

วันพุธที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2551

สำนวนฝรั่งเศส หมวดซีนะ

1.« Chercher midi à quatorze heures. » : Compliquer inutilement une chose très simple. [ทำเรื่องง่ายให้เป็นเรื่องยากโดยไร้ประโยชน์]

2.« C'est de la daube ! » : C'est un objet ou un spectacle de mauvaise qualité, bon à jeter. [สิ่งของ หรือ การแสดงที่ไม่ดี ของที่ควรทิ้งไป]

3« C'est bath. » : C'est beau. (ou bon, joli, bien, remarquable, agréable) ! [เยี่ยม, วิเศษ, แจ่ม, แจ๋ว]

4.« Coller aux basques. » : Suivre quelqu'un de très près, ne pas le lâcher d'une semelle. [ตามติด(ใคร) แบบไม่ละฝีก้าว]

5.« Crier (gueuler) comme un putois. » : Protester de manière criarde. [ตะโกนคัดค้าน หรือส่งเสียงดังแสบหู หรือ เสียงแปร๋น]

6.« C'est plus fort que de jouer au bouchon. » : C'est incroyable, très surprenant. [เหลือเชื่อ, น่าแปลกใจอย่างยิ่ง]

7.« C'est fort de café ! » : C'est exagéré, excessif, insupportable. [มากเกินไป, หนักเกินไป, ทนไม่ไหว]

8.« Ce n'est pas une sinécure ! » : Ce n'est pas une situation, un emploi, quelque chose de facile ou de tout repos. / Ce n'est pas une mince affaire. [ไม่ใช่เรื่องจิ๊บจ๊อยเลย, ไม่ใช่เรื่องหมูๆ หรือ กล้วยๆเลย, ไม่ใช่เรื่องง่ายๆเลย]

9.« Cela va faire du bruit dans Landerneau. » : C'est une affaire qui va faire beaucoup de bruit. / C'est un petit fait qui va provoquer beaucoup de commérages. [เรื่องหรือเหตุ (ซึ่งอาจเป็นเรื่องเล็กน้อย) ที่จะดังไปทั่ว(รู้กันไปทั่ว) หรือก่อให้เกิดการซุบซิบนินทากันมาก]

10.« Ça fait des lustres ! » : Cela fait très longtemps. [เป็นเวลาเนิ่นนานมาแล้ว, นานจริงๆ]

วันพุธที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2551

ฝรั่งเศสวันละสำนวน

1.« La boîte de Pandore » : La source des ennuis. L'origine de malheurs, de catastrophes. [ที่มาของปัญหา ความวุ่นวาย ความวิบัติ...]

2.« Battre la campagne. » : 1. Déraisonner, divaguer, délirer. [เพ้อเจ้อ, พูดเพ้อเจ้อ, เที่ยวเดินเพ่นพ่าน]2. A la chasse : parcourir le terrain de chasse dans tous les sens pour faire lever le gibier. [(ในการล่าสัตว์) ไล่ต้อนให้สัตว์ตื่นตกใจหนีออกจากที่ซ่อน]3. Parcourir de grandes étendues à la recherche de quelque chose ou quelqu'un. [ตระเวนไปทั่วพื้นที่ เพื่อตามหาบางสิ่งบางอย่าง หรือ ใครบางคน]

3.« Bon vent ! » : 1. Bon voyage, bonne route, au revoir ! [ขอให้เดินทางโดยสวัสดิภาพ, ลาก่อน]2. Va-t'en, casse-toi ! [ไปได้แล้ว !]


4.« Bon an, mal an » : En moyenne (avec une notion de durée). Selon les années (ou d'autres périodes de temps, maintenant) [ปานกลาง (ด้วยความหวังว่าจะเป็นเช่นนี้ต่อไป = ดีบ้างไม่ดีบ้าง) / แล้วแต่ปี (หรือช่วงเวลาอื่นๆ = แล้วแต่ช่วงเวลา)]

5.« Bourré comme un coing » : Complètement soûl. [เมาสุดๆ, เมามาก

วันศุกร์ที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2551

สำนวนฝรั่งเศส

-« Avoir un nom à coucher dehors. » : Avoir un nom très difficile à prononcer et / ou à retenir. [มีชื่อที่ออกเสียงยาก หรือ จำได้ยาก]

-« Avoir du chien. » : Pour une femme, avoir un charme un peu canaille, du sex-appeal. [สำหรับผู้หญิง : มีเสน่ห์แบบยั่วๆนิดหน่อย]

-« Aller à vau - l'eau. » : Aller à sa perte, péricliter. [ไปสู่ความสูญเสีย, ตกอยู่ในอันตราย]

-« L' avoir dans le baba. » : Se faire avoir, Rater quelque chose, Subir un échec. [โดนหลอก, ล้มเหลว]

-« Avoir du pain sur la planche. » : Avoir beaucoup de travail, de tâches à accomplir. [มีงานมากที่ต้องทำให้เสร็จ]

วันศุกร์ที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2551

รูเช่ต์ เดอ ลิส (Rouget de Lisle

Une ancienne tradition veut que la famille de Rouget de Lisle soit originaire de la région de Montpellier, où elle professait la religion protestante, bien qu'aucune source avérée n'ai pu l'étayer.C'est vers 1625 qu'elle serait venue s'installer dans la région de Niort, fuyant les guerres de religion. La branche aînée de cette famille, d'où est issu l'auteur de la Marseillaise s'est d'abord établie à Dôle, puis à Lons-le-Saunier, où elle a occupé les premières places de la magistrature. Né le 10 mai 1760 à Lons-le-Saunier, du légitime mariage de Claude Ignace Rouget et de Jeanne Madeleine Gaillande, il est l'aîné d'une famille de 8 enfants ( 5 garçons et 3 filles ).Il passera sa jeunesse à Lons-le-Saunier où il fit ses études au collège de cette ville; on lui prête d'ailleurs des talents de compositeur et de poète précoces.Destiné à la carrière des armes, il entre à l'école du génie civil d'où il sort en 1784 avec le grade d'aspirant lieutenant en second au corps royal du génie. La Révolution n'interromp en rien la poursuite de sa carrière militaire, qui sans être brillante, lui permettra de faire montre de son attachement aux idées de 1789.Capitaine de 5e classe au génie dans l'armée du Rhin, il est à Strasbourg le 24 avril 1792 au moment de la déclaration de guerre au Roi de Bohème et de Hongrie, c'est au cours d'une réception organisée par le maire Dietrich, qu'il improvise dans la deuxième partie de la nuit du 24 au 25, son chant de guerre pour l'armée du Rhin, dédié au maréchal Lukner, ce qui lui vaudra de passer à la postérité ( appelé plus tard hymne des marseillois ).Il sera par la suite volontaire dans l'armée des Ardennes.Sous la terreur, il est suspecté et incarcéré à la prison de Saint-Germain-en-Laye, ce qui lui inspirera son hyme au 9 thermidor pour célèbrer la chute de Robespierre.La convention post-thermidorienne saura récompenser celui que l'on considère maintenant comme le Tyrtée français, une loi du 26 messidor an III ( 24 juillet 1795 ) porte d'ailleurs que " les airs et chants civiques qui ont contribué au succès de la Révolution seront exécutés par les corps de musique de la garde nationale et des troupes de ligne".Après un passage à l'armée de l'ouest à la suite de Tallien, il mettra définitivement fin à sa carrière militaire le 9 avril 1796, pour occuper diverses fonctions, dont celle d'agent accrédité auprès du gouvernement français par l'ambassade de la république Batave. Sous l'empire, on le retrouve à la tête d'une entreprise de fournitures de vivres auprès des armées.La carrière litteraire sans relief que Rouget de Lisle poursuivra ensuite, en rédigeant des préfaces, traduisant des ouvrages de l'anglais et publiant des mémoires ne lui vaudra pas la fortune.Il finira d'ailleurs sa vie dans une relative précarité matèrielle, devant même vendre la part d'héritage de la propriété venant de son père, c'est seulement sous la monarchie de Juillet que Louis Philippe lui accordera sur sa cassette personnelle une pension viagère de 1500 francs, à laquelle s'ajouteront deux pensions de 1000 francs respectivement octroyées par les ministres du commerce et de l'intèrieur.C'est peu de temps après qu'il s'éteind à Choisy le Roi le 26 juin 1836 à l'âge avancé de 76 ans.

วันจันทร์ที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2551

คำศัพท์

se mettre d'accord = เห็นพ้องต้องกัน, ตกลงกัน

surveiller (v.) = สอดส่องดูแล, จับตาดู

- apercevoir (v.) = เห็นไวๆ, เห็นแวบๆ

- état (n.m.) = 1. สภาพ, สถานภาพ

âme (n.f.) = จิตวิญญาน

- état d'âme (n.m) = ศีลธรรม, ความรู้สึกเกรงใจ, ความรู้สึกกลัวบาป, สภาพจิตใจ

histoire (n.f.) = เรื่องราว

วันพฤหัสบดีที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2551

วันนี้เอากลอนมาฝากด้วย เชิญอ่านๆ หุหุ.....

C\'est bien la pire peine !
De ne savoir pourquoi
Sans amour et sans haine
Moncoeur a tant de paine

เจ็บแล้วนี่ดีแล้วเล่าเศร้าเสียเถิด
มิขอเปิดใจรุใยโศกศัลย์
อยู่อย่างสูญสิ้นอารมไปวันวัน
ปล่อยใจนั้นเปี่ยมล้นท้นน้ำตา