วันพุธที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2550

คำศัพท์ [Vocabulaire

C'est toujours la même chose ! = ไม่เห็นมีอะไรใหม่เลย ! / มันก็เดิมๆ

- bande (n.f.) = วง, คณะ, กลุ่ม, ก๊ก : Des bandes de jeunes se réunissent devant le cinéma. (กลุ่มวัยรุ่นรวมตัวกันอยู่หน้าโรงภาพยนต์)

- J'en ai marre. = J'en ai assez. = J'en ai ras-le-bol. (อ่าน : ชอง เน ราล-บอล)

- bâtiment (n.m.) = ตึก, อาคาร : Mon école a 6 bâtiments. La plupart de mes cours se passent dans le bâtiment 2. (โรงเรียนของเรามี อาคาร 6 หลัง ... ฉันเรียนส่วนใหญ่ในตึก 2)

- le RER : รถใต้ดินสายด่วนเชื่อมระหว่างใจกลางกรุงปารีสกับชานเมือ

- Beaubourg : (โบบูร์) ศูนย์วัฒนธรรมตั้งอยู่ในย่านโบบูร์ในปารีส มีชื่ออีกอย่างหนึ่งว่า Centre culturel Georges Pompidou.

- Et puis quoi encore ?! = แล้วยังอะไรต่ออะไรอีกมากมาย

- On y va ! = ไปกันเถอะ

วันศุกร์ที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2550

Les phrases exclamatives

Quel(s) / Quelle(s) + nom :
Quel + nm.s !
- Quel temps ! (อากาศอะไรกันนี่ !)


Quelle + nf.s !
- Quelle bonne idée ! (ช่างเป็นความคิดที่ดี !)


Quels + nm.pl. !
- Quels beaux bijoux ! (เครื่องประดับที่งดงามอะไรเช่นนี้ !)


Quelles + nf.pl !
- Quelles belles fleurs ! (ดอกไม้สวยงามอะไรเช่นนี้ !)


Que / Ce que / Comme + phrase [ประโยค] ! :
- Qu'il fait chaud ! / Ce qu'il fait chaud ! / Comme il fait chaud ! (อากาศร้อนอะไรอย่างนี้ !)
- Que c'est cher ! / Ce que c'est cher ! / Comme c'est cher ! (แพงอะไรอย่างนี้ !)
[ ** ในภาษาสำหรับคนคุ้นเคยกัน เรามักจะใช้ " Qu'est-ce que ..." : Qu'est-ce qu'il fait chaud ! /

Qu'est-ce que c'est cher ! ]

Que de + nom (ไม่มี article)
- Que de monde ! (ผู้คนมากมายจังเลย !)
- Que de bonnes choses ! (มีแต่ของดีๆทั้งนั้นเลย !)


สำนวนต่างๆที่แสดงถึง [De nombreuses expressions invariables qui marquent] :
ความประหลาดใจ [surprise] : Ça alors ! / Pas possible ! / C'est pas vrai ! / Oh ! la ! la ! ... / Mon Dieu !
- Oh ! la ! la !, Que tu es belle ! (โอ้ ลา ลา ! เธอสวยอะไรอย่างนี้ !)


ความกลัว [peur] , การเตือนให้ระวังภัย...[danger] : Attention ! / Au secours ! ...
- Attention ! Tu vas tomber ! (ระวัง ! เดี๋ยวเธอจะล้ม !)
- Il y a l'incendie dans l'immeuble ! Au secours ! (ไฟไหม้ตึก ช่วยด้วย ๆ !)

ความเสียดาย, ความเสียใจ [regret] : Quel dommage ! / Tant pis ! ...
- On n'a pas pu visiter le marché flottant. Quel dommage ! (เราไม่สามารถไปเที่ยวตลาดนํ้าได้ น่าเสียดายจัง !)
- Il n'y a plus de place pour le concert ! Tant pis ! (ไม่มีที่สำหรับคอนเสิร์ตแล้ว แย่จัง ! )


ความพึงพอใจ [surprise] : Bravo ! / Tant mieux ! / Génial ! / Super ! / Chic alors ! / Magnifique ! / Merveilleux !..
- Tu as réussi à l'examen. Bravo ! (เธอสอบได้แล้ว ไชโย !)
- On ne doit plus refaire ce travail. Tant mieux ! (เราไม่ต้องทำงานชิ้นนี้อีก ดีจังเลย !)


ความแค้นใจ [dépit], ความหงุดหงิดรำคาญใจ [agacement] : Zut !
- Zut ! Il pleut ! Je ne peux pas sortir ! (อ้ะ ! ฝนตก ! ฉันออกไปข้างนอกไม่ได้แล้ว

วันจันทร์ที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2550

ศัพท์ฝรั่งเศสที่ควรรู้

->> La famille ครอบครัว <<-
La mere แม่
Le pere พ่อ
La grand-mere ย่า ยาย
Le grand-pere ปู่ ตา
la soeur พี่สาว น้องสา่ว
la frere พี่ชาย น้องชาย
L'oncle ลุง อา น้า
La tante ป้า อา น้า
Le cousin ลูกทีี่ลูกน้อง ผุ้ชาย
Le cousine ลูกทีี่ลูกน้อง ผุ้หญิืง
->> Les Professions อาชีพ <<-
un professeur ครู
un footballeur นักฟุตบอลีื
une htesse de l'air แอร์โฮสเตส
un chirurgien หมอผ่าตัด
une coiffeuse ช่างตัดผม
un jardinier คนทำสวน
une danseuse นักเต้นรำ
un facteur บุรุษไปรษณีย์
un peintre จิตกร
un chauffeur คนขับรถ
un dentist หมอฟัน
ีune musicienne นักดนตรี
un pilote นักบิน
un cuisinier พ่อครัว
un eleve นักเรียน
une infirmiere พยาบาล
->> LES SAISONS <<-
L'ete ฤดูร้อน
L'automne ฤดูใบไม้ร่วง
L'hiver ฤดูหนาว
L'printemps ฤดูใบไม้ผลิ
->> Savez-vous faire la tete? การแสดงความรู้สึุกทางสีหน้า <<-
gentil ใจดี
amoureux ตกหลุมรัก
poli สุำภาพ
agressif ก้าวร้าว
triste เศร้าหมอง
surprise ประหลาดใจ
joyeux ร่าเริง
fou de rage บ้าคลั่ง
Malade ไม่สบาย
soucieux วิตกกังวล
fatigue เหนื่อย
en colere โกรธ
->> La correspondence การติดต่อสื่อสาร <<-
La carte โปสการ์ด
La lettte จดหมาย
L'enveloppe ซองจดหมาย
Le timbre แสตมป์
L'adresse ที่อยู่
Un paquet กล่องพัสดุ
La boite aux lettres ตู้รับจดหมาย
La poste ไปรษณีย์
->> La place สถานที่ สี่แยก <<-
Les feus สัญญาณไฟจราจร
La statue อนุสาวรีย์
Le passage pieton ทางข้ามม้าลาย
Le trottoir ทางเดินเท้า บาทวิถี
L'arret d'antobus ป้ายรถโดยสารประจำทาง
Le carrefour สี่แยก
L'agent de police ตำรวจจราจร
L]autobus รถโดยสารประจำทาง
Le pieton คนเดินเท้า คนเดินถนน

ตระกูลคำศัพท์ภาษาฝรั่งเศส

accepter (อัก-แซป-เต) (v) = ยอมรับ
* accepter qqn, qqch : - Elle a accepté Laurent pour époux.
- J'accepte votre invitation avec plaisir.
* accepter de (+ infinitif) : - Elle accepte de venir à ma fête.
* s'accepter = ยอมรับตนเอง : - Il faut s'accepter tel qu'on est.
* accepter que (+ subjonctif) - Je n'accepte pas que tu sois toujours en retard !
acceptation (n.f) = การยอมรับ : - Avant de pouvoir commencer, il faut obtenir l'acceptation de tous les membres.
acceptable (adj) = ที่ยอมรับได้ : - Sa proposition est acceptable.
inacceptable (adj) = ที่ไม่อาจยอมรับได้ : - Une telle proposition est inacceptable

วันจันทร์ที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550

ไม่ได้มาอัพซะนาน...

คำศัพท์ [Vocabulaire] :
- n' importe quoi = [อะไรๆก็ไม่สำคัญ] อะไรๆก็ได้, : Elle dit n'importe quoi ! (หล่อนพูดอะไรเรื่อยเปื่อย) / n' importe qui = ใครๆก็ตาม : N'importe qui peut en faire autant. (ใครๆก็ทำได้เหมือนกัน) / n' importe où = ที่ไหนๆก็ได้ : Ne pose pas tes affaires n'importe où. (อย่าเอาข้าวของของเธอไปวางไว้ส่งเดช) / n' importe comment = [อย่างไรๆก็ได้] ชุ่ยๆ : Ce travail a été fait n'importe comment. (งานนี้ถูกทำอย่างชุ่ยๆ) / n' importe quand = เมื่อไหร่ๆก็ได้ : Tu peux venir chez moi n' importe quand. Ma maison est toujours ouverte pour toi. (เธอจะมาบ้านฉันเมื่อไหร่ก็ได้ บ้านฉันเปิดเสมอสำหรับเธอ)
- vivre (v.) = มีชีวิต, ดำรงชีวิต, อาศัยอยู่ : On vit plus longtemps grâce à la médecine. (เรามีชีวิตยืนยาวขึ้นเนื่องจากการแพทย์) / vie (n.f.) = ชีวิต, : Profitez bien de la vie. (จงใช้ชีวิตให้คุ้มค่า) / vivant (adj.) = ที่ยังมีชีวิตอยู่ : Mon père est mort mais ma mère est encore vivante. (พ่อของฉันตายแล้ว แต่แม่ของฉันยังมีชีวิตอยู่)
- ne ........nulle part (adv.) = ไม่......ที่ใดเลย
- mentir (v.) = โกหก, พูดปด / mensonge (n.m.) = คำเท็จ, คำโกหก / menteur, menteuse (adj. et n.) = คนโกหก, ที่โกหก
- être capable (de) (adj.) = สามารถ # être incapable (de) = ไม่สามารถที่จะ

วันอังคารที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2550

Les animaux sauvages [สัตว์ป่า์, สัตว์ที่อยู่ตามธรรมชาติ]

abeille [n.m.]
อะ-แบย(เยอ)
ผึ้ง

aigle [n.m.]
แอ๊ก(เกลอ)
นกอินทรี

- aiglon [n.m.]
แอ๊ก-กลง
ลูกนกอินทรี

araignée [n.f.]
อา-แรน-เย่
แมงมุม

autruche [n.f.]
โอ-ทรืช(เชอ)
นกกระจอกเทศ

- autruchon [n.m.]
โอ-ทรือ-ชง
ลูกนกกระจอกเทศ





baleine [n.f.]
บา-แลน(เนอ)
ปลาวาฬ

blaireau [n.m.], blaireaux [n.m.pl]
บแล-โร
ชะมด

belette [n.f.]
เบอ-แล๊ต(เตอ)
พังพอน

bestiole [n.f.]
แบส-ติ-ออล(เลอ)
แมลงปีกแข็ง





calamar (หรือ) calmar [n.m.] / seiche [n.f.]
กา-ลา-มา (หรือ) กาล-มา / แซช(เชอ)
ปลาหมึก

castor [n.m.]
กาส-ตอร์
ตัวบีเวอร์

cerf [n.m.] / biche [n.f.]
แซร์ / บิช(เชอ)
กวางตัวผู้ / กวางตัวเมีย

- faon [n.m.]
ฟอง
ลูกกวาง

chameau [n.m.] / chamelle [n.f.] / dromadaire [n.m.]
ชา-โม / ชา-แมล(เลอ) / โดร-มา-แดร์
อูฐตัวผู้ / อูฐตัวเมีย / อูฐ(พันธุ์ที่มีโหนกเดียวกลางหลัง)

- chamelon [n.m.]
ชา-เมอ-ลง
ลูกอูฐ

chamois [n.m.]
ชา-มัว
เลียงผา

chauve-souris [n.m.]
โช๊ฟ-ซู-ริ
ค้างคาว

chevreuil [n.m.]
เชอ-วเรย
อีเก้ง, กวาง

chimpanzé [n.m.]
แชง-ปอง-เซ
ลิงชิมแพนซี

coccinelle [n.f.]
ก๊อก-ซิ-แนล
(แมลง)เต่าทอง

colombe [n.f.]
โก-ลง(เบอ)
นกพิราบขาว

coquillage [n.m.]
โก-กิ-ยาช(เชอ)
หอย

corbeau [n.m.]
กอร์-โบ
(นก) อีกา

crabe [n.m.]
คราบ(เบอ)
ปู

crapaud [n.m.]
ครา-โป
คางคก

crevette [n.f.]
เครอ-แว๊ต(เตอ)
กุ้ง

crocodile [n.m.]
โคร-โค-ดิล(เลอ)
จรเข้


daim [n.m.]
แด็ง
กวางทราย

dauphin [n.m.]
โด-แฟง
ปลาโลมา


écureuil [n.m.]
เอ-กือ-เรย
กระรอก

éléphant mâle [n.m.] / éléphant femelle [n.f.]
เอ-เล-ฟอง มาล(เลอ) / เอ-เล-ฟอง เฟอ-แมล(เลอ)
ช้างตัวผู้ / ช้างตัวเมีย

- éléphanteau [n.m.]
เอ-เล-ฟอง-โต
ลูกช้าง

éléphant de mer [n.m.], phoque [n.m.], otarie [n.f.]
เอ-เล-ฟอง เดอ แมร์, ฟ๊อก(เกอ), ออ-ตา-รี
แมวนํ้าขนาดใหญ่ หรือ สิงโตทะเล, แมวนํ้า

escargot [n.m.]
แอส-การ์-โก
หอยทาก


faisan [n.m.] / faisane [n.f.]
เฟอ-ซอง / เฟอ-ซาน(เนอ)
ไก่ฟ้าตัวผู้ / ไก่ฟ้าตัวเมีย

- faisandeau [n.m.]
เฟอ-ซอง-โด
ลูกไก่ฟ้า

faucon [n.m.]
โฟ-กง
เหยี่ยว

fourmi [n.f.]
ฟูร์-มิ
มด


gazelle [n.f.]
กา-แซล(เลอ)
สัตว์ชนิดเนื้อทราย

girafe [n.f.]
ชิ-ราฟ(เฝอ)
ยีราฟ

- girafon [n.m.], girafeau [n.m.]
ชิ-ราฟง, ชิ-รา-โฟ
ลูกยีราฟ

gorille [n.m.]
กอ-ริล(เลอ)
ลิงกอริลลา

grenouille [n.f.]
เกรอ-นุย(เยอ)
กบ

guêpe [n.f.]
แก๊ป(เปอ)
ตัวต่อ


hérisson [n.m.]
เอ-ลิส-ซง
เม่น

hibou [n.m.]
อิ-บู
นกฮูก นกเค้าแมว

hippopotame [n.m.]
อิป-โป-โป-ตาม(เมอ)
ฮิปโปโปเตมัส

hirondelle [n.f.]
อิ-รง-แดล(เลอ)
นกนางแอ่น

huître [n.f.]
อือ-อิต(เทรอ)
หอยนางรม


kangourou [n.m.]
กอง-กู-รู
จิงโจ้

kiwi [n.m.]
กิ-วิ
นกกีวี่



léopard [n.m.]
เล-โอ-ปาร์
เสือดาว

lièvre [n.m.] / hase [n.f.]
ลิ-แอฟ(เวรอ) / อาส(เซอ)
กระต่ายป่าตัวผู้ / กระต่ายป่าตัวเมีย

- levraut [n.m.]
เลอ-โวร
ลูกกระต่ายป่า

lézard [n.m.]
เล-ซาร์
กิ้งก่า, จิ้งจก

lion [n.m.] / lionne
ลิ-อง / ลิ-ออน
สิงห์โตตัวผู้, สิงห์โตตัวเมีย

- lionceau [n.m.]
ลิ-อง-โซ
ลูกสิงห์โต

loup [n.m.]
ลู
หมาป่า

loutre [n.f.]
ลูต(เทรอ)
นาก



moineau [n.m.]
มัว-โน
นกกระจอก

mouche [n.f.]
มุช(เชอ)
แมลงวัน

moule [n.f.]
มุล(เลอ)
หอยแมงภู่

moustique [n.m.]
มุส-ติก(เกอ)
ยุง

mulet [n.m.] / mule [n.f.]
มือ-เล / มืล(เลอ)
ฬ่อตัวผู้ / ฬ่อตัวเมีย



oiseau [n.m.], oiseaux [n.m.pl.]
อัว-โซ
นก

ours [n.m.] / ourse [n.f.]
อูร์ส / อูร์ส(เซอ)
หมีตัวผู้, หมีตัวเมีย

- ourson [n.m.]
อูร์-ซง
ลูกหมี


panthère [n.m.]
ปอง-แต(เรอ)
เสือลาย

paon [n.m.] / paonne [n.f.]
ปอง / ปาน(เนอ)
นกยูงตัวผู้ / นกยูงตัวเมีย

papillon [n.m.]
ปา-ปิ-ยง
ผีเสื้อ

perdrix [n.f.]
แปร์-ดริ
นกกระทา

perdreau [n.m.]
แปร์-โดร
ลูกนกกระทา

perroquet [n.m.]
แปร์-โร-เก้
นกแก้ว

pigeon [n.m.]
ปิ-ชง
นกพิราบ

pingouin [n.m.]
แปง-กู-แอง
นกเพนกวิน



rat [n.m.] / rate [n.f.]
รา์ / ร๊าต(เตอ)
หนู(พันธุ์ใหญ่)ตัวผู้ / หนู(พันธุ์ใหญ่)ตัวเมีย

renard [n.m.] / renarde [n.f.]
เรอ-นาร์ / เรอ-นาร์ด
หมาจิ้งจอกตัวผู้ / หมาจิ้งจอกตัวเมีย

renne [n.m.]
แรน(เนอ)
กวางเรนเดีียร์(กวางลากเลื่อน)

requin [n.m.]
เรอ-แกง
ปลาฉลาม

rhinocéros [n.m.]
ริ-โน-เซ-รอส
แรด

rongeurs [n.m.pl.]
รง-เชอ
สัตว์จำพวกกัดแทะเช่นหนู กระรอก


sanglier [n.m.] / laie [n.f.]
ซอง-กลิ-เย / แล
หมูป่าตัวผู้ / หมูป่าตัวเมีย

- marcassin [n.m.]
มาร์-กัส-แซง
ลูกหมูป่า

saumon [n.m.]
โซ-มง
ปลาแซลม่อน

serpent [n.m.]
แซร์-ปอง
งูี

singe [n.m.] / guenon [n.f.]
แซ๊ง(เชอ) / เกอ-นง
ลิง / ลิงตัวเมีย

souris [n.f.]
ซู-ริ
หนู(พันธุ์เล็ก) หนูบ้าน


taupe [n.f.]
โตบ(เปอะ)
ตัวตุ่น

thon [n.m.]
ตง
ปลาทูน่า

tigre [n.m.] / tigresse [n.f.]
ตีก(เกรอ) / ตี-แกรส(เซอ)
เสือตัวผู้ / เสือตัวเมีย

tortue [n.f.]
ตอร์-ตือ
ูเต่า

tourterelle [n.f.]
ตูร์-เตอ-แรล(เลอ)
นกเขา

truite [n.f.]
ทรุต(เตอ)
ปลาเทร๊าท์


vautour [n.m.]
โว-ตูร์
แร้ง

vipère [n.f.]
วิ-แป(เรอ)
ูงูพิษ

zèbre [n.m.]
แซบ(เบรอ)
ม้าลาย

Les animaux domestiques et les animaux de la ferme [สัตว์เลี้ยงในบ้าน และ สัตว์เลี้ยงในฟาร์ม]

chat [n.m] / chatte [n.f]
ชา / ชัต(เตอ)
แมว

- chaton [n.m]
ชา-ตง
ลูกแมว

chien [n.m] / chienne [n.f]
เชียง / เชียน(เนอ)
สุนัข, หมา

- chiot [n.m]
ชิ-โอ
ลูกสุนัข, ลูกหมา



âne [n.m] / ânesse [n.f.]
อาน(เนอ) / อา-แนส(เซอ)
ลา

ânon [n.m]
อา-นง
ลูกลา

boeuf [n.m], boeufs [n.m.pl.], taureau [n.m.], taureaux [n.m.pl.] / vache [n.f]
เบิ๊ฟ, เบอ, โต-โร / ว้าช(เชอ)
วัวตัวผู้ / วัวตัวเมีย

- veau [n.m], veaux [n.m.pl.]
โว
ลูกวัว

bouc [n.m] / chèvre [n.f]
บูก / แช๊ฟ(เวรอ)
แพะตัวผู้ / แพะตัวเมีย

- chevreau [n.m.]
เชอ-วโระ
ลูกแพะ

buffle [n.m.] / bufflonne [n.f.]
บืฟ(เฟลอ) / บืฟ-ฟลอน(เนอ)
ควายตัวผู้, ควายตัวเมีย

- buffon [n.m.]
บืฟ-ฟง
ลูกควาย


canard [n.m] / cane [n.f]
กา-นาร์ / กาน(เนอ)
เป็ดตัวผูู้้ / เป็ดตัวเมีย

- caneton [n.m]
กาน-ตง
ลูกเป็ด

cheval [n.m], chevaux [n.m.pl.] / jument [n.f]
เชอ-วาล, เชอโว / ชือ-มอง
ม้าตัวผูู้้ / ม้าตัวเมีย

- poulin [n.m] / pouliche [n.f]
กา-นาร์ / กาน(เนอ)
ลูกม้าตัวผูู้้ / ลูกม้าตัวเมีย

cochon [n.m], porc [n.m.] / truie [n.f]
โก-ชง, ปอร์ / ทรุย
หมูตัวผููู้้้ / หมูตัวเมีย

- cochonnet , porcelet, goret [n.m.]
โก-ชอ-เน, ปอร์-เซอ-เล, กอ-เร
ลูกหมู

coq [n.m] / poule [n.f]
ก๊อก / ปูล(เลอ)
ไก่ตัวผู้, ไก่ตัวเมีย

- poulet [n.m] / poulette [n.f] / poussin [n.m.]
ปู-เล / ปู-แลต(เตอ) / ปุส-แซง
ไก่กระทงตัวผู้ / ไกกระทงตัวเมีย / ลูกเจี๊ยบ


dindon [n.m.] / dinde [n.f.]
แดง-ดง / แดง(เดอ)
ไก่งวงตัวผู้ / ไก่งวงตัวเมีย

- dindonneau [n.m.], dindonneaux [n.m.pl]
แดง-ดอน-โน
ลูกไก่งวง


lapin [n.m.] / lapine [n.f.]
ลา-แปง / ลา-ปิน(เนอ)
กระต่ายตัวผู้ / กระต่ายตัวเมีย

- lapereau [n.m.], lapereaux [n.m.pl.]
ลา-เปอ-โร
ลูกกระต่าย

mouton [n.m.] , bélier [n.m.] / brebis [n.f.]
มู-ตง, เบ-ลิ-เย / เบรอ-บิ
แกะ , แกะตัวผูู้้ / แกะตัวเมีย

- agneau [n.m.], agneaux [n.m.pl.]
อา-โย
ลูกแกะ

oie [n.f.] / jars [n.m.]
อัว / ชาร์
ห่านตัวเมีย / ห่านตัวผู้

oison [n.m.]
อัว-ซง
ลูกห่าน


วันศุกร์ที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2550

Chat



Le chat


Le chat domestique est un mammifère carnivore de la famille des félidés. Le mot chat vient du bas-latin cattus (chat sauvage). D'après le Littré dans son édition de 1878, cattus proviendrait du verbe cattare, qui signifie guetter, ce félin étant alors considéré comme un chasseur qui guette sa proie. Le chat domestique Felis silvestris catus est très proche du chat sauvage européen Felis silvestris silvestris et du chat sauvage africain (chat ganté) Felis silvestris libyca. Selon la plupart des zoologues contemporains, ces trois types de chats forment une unique espèce : Felis silvestris. Cependant les expériences d'hybridation donnent des produits féconds entre le chat domestique et Felis silvestris lybica, alors que ce n'est pas le cas avec Felis silvestris silvestris. L'appellation Felis catus n’est plus valide.


Sommaire
1 Anatomie
1.1 Squelette et muscles
1.2 Pelage
1.2.1 Écaille de tortue et tricolores
1.3 Les sens
1.3.1 L’ouïe
1.3.1.1 Surdité chez les chats de couleur blanche
1.3.2 La vue
1.3.3 L’odorat
1.3.4 Le goût
1.3.5 Le toucher
1.3.6 Autres sens
2 Comportements
2.1 Éthologie
2.2 Communication
2.2.1 Miaulement
2.2.2 Miaulement saccadé
2.2.3 Cri du chat
2.2.4 Ronronnement
2.3 Sommeil
2.4 Chasse
2.5 Reproduction, gestation, mise bas
3 Soins et santé
3.1 Entretien
3.2 Alimentation et boisson
3.3 Rejets
3.4 Stérilisation
3.5 Dégriffage
3.6 Maladies
4 Obligations légales
5 Le chat et l'homme
5.1 Histoire
5.2 Chats célèbres
5.3 Maléfices et bénéfices
5.4 Sciences
6 L'image du chat
6.1 Le regard des artistes
6.2 Les écrivains et les chats
6.3 Expressions populaires
6.3.1 Proverbes
6.3.2 Expressions
6.3.3 Greffiers et minets
6.4 Quelques chansons
6.5 Bande dessinée
6.6 Dessins animés, mangas, jeux vidéo
7 Annexes
7.1 Articles connexes
7.2 Notes
7.3 Bibliographie générale
7.4 Références
7.5 Liens externes






วันจันทร์ที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2550

Dijon‘゚・✿


Dijon est une ville de France, préfecture du département de la Côte-d'Or et chef-lieu de la région Bourgogne. Ses habitants sont appelés les Dijonnais. En 2005, la population de Dijon intra-muros était de 150 800 habitants selon le recensement de l'Insee, ce qui en fait la 18è ville la plus peuplée de France[1]. Dijon est principalement connue comme étant l'ancienne capitale du duché de Bourgogne ainsi qu'une capitale mondiale de la gastronomie, notamment grâce à sa moutarde et à sa foire internationale et gastronomique. C'est aussi la capitale régionale d'une des régions viticoles les plus connues au monde, le vignoble de Bourgogne.

Le climat de Dijon est de type océanique à tendance semi-continentale . L'influence océanique se traduit par des pluies fréquentes en tout saison (avec néanmoins un maximum en automne et un minimum en été) et un temps changeant. L'influence semi-continentale se traduit par une amplitude thermique mensuelle parmi les plus élevées de France (18°C contre 15°C à Paris), des hivers froids avec des chutes de neige relativement fréquentes et des étés plus chauds que sur les côtes, avec à l'occasion de violents orages. C'est cette influence semi-continentale qui rend possible la culture de la vigne en Côte d'Or.

วันศุกร์ที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2550

****

- sauf (prép.) = ยกเว้น
- inquiet (adj.) = รู้สึกวิตกกังวล, รู้สึกเป็นห่วง
- se passer (v.) = เกิดขึ้น
- salon (n.m.) = ห้องรับแขก, ห้องโถง
- se mettre à (v.) = เริ่มที่จะ ...
- qqch arrive à qqn = บางสิ่งบางอย่างเกิดขึ้นกับใคร
- amener (v.) = พามา, เอามาด้วย
- voler (v.) = ขโมย / voleur, voleuse (n.) = ผู้ที่เป็นขโมย / vol (n.m.) = การลักขโมย
- laisser (v.) = ปล่อยไว้, ทิ้งไว้
- tranquille (adj.) = เงียบ, สงบ
- boire (v.) = ดื่ม
- s'en faire (v.) = วิตก, กังวล
- s'arranger (v.) = เรียบร้อย, เป็นปรกติ
- chacun (pron.) = แต่ละคน
- tour (n.m.) = คราว, รอบ
- raconter (v.) = เล่าให้ฟัง
- quai (n.m.) = ชานชาลาสถานี
- crier (v.) = ร้องตะโกน, ส่งเสียงดัง
- chef (n.m.) = หัวหน้า
- expliquer (v.) = อธิบาย
- se terminer (v.) = จบลง
- joie (n.f.) = ความยินดี, ความร่าเริง / joyeux (adj.) = ยินดี, ร่าเริง / joyeusement (adv.) = อย่างร่าเริง, อย่างสนุกสนาน
- fou, folle (adj. et n.) = บ้า, คนบ้า
- s'occuper (de) (v.) = ดูแล, เอาใจใส่, เป็นธุระ
- succès (n.m.) = ความสำเร็จ

วันอาทิตย์ที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2550

สำนวน....

1
« Avoir un nom à coucher dehors. » : Avoir un nom très difficile à prononcer et / ou à retenir. [มีชื่อที่ออกเสียงยาก หรือ จำได้ยาก]
2
« Avoir du chien. » : Pour une femme, avoir un charme un peu canaille, du sex-appeal. [สำหรับผู้หญิง : มีเสน่ห์แบบยั่วๆนิดหน่อย]
3
« Aller à vau - l'eau. » : Aller à sa perte, péricliter. [ไปสู่ความสูญเสีย, ตกอยู่ในอันตราย]
4
« L' avoir dans le baba. » : Se faire avoir, Rater quelque chose, Subir un échec. [โดนหลอก, ล้มเหลว]
5
« Avoir du pain sur la planche. » : Avoir beaucoup de travail, de tâches à accomplir. [มีงานมากที่ต้องทำให้เสร็จ]
6
« Au diable vauvert. » : Extrêmement loin. [ไกลสุดๆ, ไกลมาก ]
7
« Avoir le cafard. » : Avoir des idées noires, être déprimé. [เศร้า, ไม่สบายใจ, ท้อแท้]
8
« Avoir la science infuse. » : Savoir sans avoir appris. / Prétendre tout savoir. [รู้เอง, อ้างว่ารู้ทุกเรื่อง]
9
« Avoir les boules. » : Être très énervé, En avoir assez, Avoir peur. [หงุดหงิด, เบื่อ, กลัว]
10
« As de pique. » : Personne à l'apparence bizarre ou mal habillée. [คนที่มีลักษณะแปลกๆ หรือ แต่งตัวไม่ดี]

****

papi หรือ papy [ปา-ปิ]
1. คุณปู่, คุณตา : J'aime bien mon papi. Il est très gentil !
2. คนแก่, คนสูงอายุ : Nous aidons un papi à traverser la rue.

mamie หรือ mamy หรือ mammy [มา-มิ] (n.f.)
1. คุณย่า, คุณยาย : Les enfants vont jouer chez leur mamie tous les week-end !
2. ผู้หญิงแก่่, หญิงสูงอายุ : Les mamies aiment parler de leur passé.

tonton [ตง-ตง] (n.m.)
1. คุณลุง, ลุง [ภาษาเด็กๆใช้เรียก ลุง หรือคนคุ้นเคยในครอบครัว เช่นเดียวกับ "papi, mamie"] : Tonton vient manger à la maison dimanche.

tata [ตา-ตา] (n.f.)
1. คุณป้า, ป้า [ภาษาเด็กๆใช้เรียก ป้า หรือคนคุ้นเคยในครอบครัว เช่นเดียวกับ "papi, mamie, tonton"] : J'aime beaucoup ma tata . Elle est très gentille et elle pense toujours à mon anniversaire.
2. ผู้ชายที่เป็น "เกย์" และ "ตุ้งติ้ง" มาก [ภาษาแสลงที่ใช้พูดกับคนคุ้นเคยเท่านั้น] : On dit de lui que c'est une tata !

adolescent(e) [อา-ดอ-แล-ซอง] [คำย่อ = ado] (n. et adj.)
1. วัยรุ่น [อายุประมาณระหว่าง 13 - 18 ปี] : Evelyne est une adolescente. Elle vient d'avoir 15 ans.



วันเสาร์ที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2550


วันพุธที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2550

วันจันทร์ที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2550






La Pomme

Culture

Malus Sylvestris


Famille: des rosacées Culture: vivace Climat: tempéré Sol: bien drainé (c'est pour cette raison que les colons plantaient leur verger en flanc de montagne), terre sablonneuse ou rocailleuse - un sol argileux où l'égouttement de l'eau est lent nuira au développement des racines. Hauteur: de 10 mètres (standard) à 5-6 mètres (semi-nain) ou 3 mètres (nain).
Le pommier, arbre trapu se couvre de centaines de petites fleurs blanches en ombelles au printemps qui donnent naissance à un fruit lourd et charnu dont la texture, la couleur et la forme varient selon les espèces.


l n'existe pas de pommiers sans ruches d'abeilles . car il faut que les fleurs du pommier soient pollinisées pour donner ce fruit juteux et savoureux que l'on croque à l'automne. Certaines variétés de pommiers s'autofécondent, notamment la Melba, la Lobo et la Vista Bella. Mais la plupart nécessitent une pollinisation croisée pour produire des pommes. On plantera alors un deuxième arbre à moins de 20 mètres. De plus, la pollinisation croisée aide à fortifier toutes les variétés.
Les fleurs blanches ou roses sont
regroupées généralement par 5 et présentent 5 pétales, 5 sépales et 20-25 étamines groupées autour de 5 stigmates et le style de l'ovaire qui forment le pistil.La pollinisation est de courte durée et les pomiculteurs doivent souvent louer des ruches pour que les abeilles puissent effectuer le transfert du pollen de l'étamine au pistil. Les pétales tombent à la fertilisation et des pépins se forment laissant place au fruit qui grossit au bout de deux semaines et prend la taille d'une balle de golf en un mois.
Choix du pommier
Le pommier standard est grand, superbe et de grande production mais il faut attendre de 8 à 10 ans pour que l'arbre commence à porter ses fruits. Il donnera bien du plaisir à ceux qui aiment grimper aux arbres . mais moins à ceux qui devront l'entretenir. Par contre, c'est un arbre qui peut produire pendant une quarantaine d'années.
Le pommier semi-nain est un bon compromis car il atteint sa maturité au bout de 5 à 7 ans et sa période de production s'étend sur 25 ans. Moins haut, il jouit toutefois d'une belle ombelle et possède des avantages quant à l'entretien.
Le pommier nain, comme son nom l'indique, est petit et l'on peut cueillir ses fruits sans échelle. Il produit des pommes dès la troisième ou la quatrième année mais sa productivité ne s'étend pas au-delà de 15 ans.
Les pommes d'été, appelées pommes hâtives font leur apparition dès la fin de juillet dont la Vista Bella, la Melba et la Jerseymac. La chair est tendre et sucrée mais elles ne se conservent pas longtemps.
Les pommes d'automne mûrissent entre la mi-septembre et les premiers gels tels la McIntosh, la Lobo, la Cortland, l'Empire, etc.
Les pommes d'hiver mûrissent avec les premiers gels soit à partir de la mi-octobre dont les Délicieuses rouges et jaunes et la Golden Russet. Elles se conservent facilement jusqu'au Nouvel An.
Plantation
Mais peu importe le choix du pommier, sa plantation doit se situer dès le dégel, idéalement entre la mi-avril et la mi-mai. Plus on retarde, plus on minimise les chances de survie de l'arbre. On creusera un trou assez profond pour pouvoir bien étaler les racines de l'arbre tout en laissant dépasser d'environ 10 cm le noeud de la greffe. Suite à la greffe, le pommier a souvent une inclinaison naturelle qu'on mettra du côté du vent. Il n'est pas indiqué d'ajouter de fumier ou de compost dans la terre de remplissage mais on peut y mêler du sable et des graviers si celle-ci n'est pas assez meuble - soit trop argileuse.
Le pommier n'a pas besoin de tuteur à moins qu'il ne soit exposé à de grands vents. Il faut l'arroser deux fois par semaine copieusement durant son premier été pour permettre aux racines de se développer en profondeur.
La Taille
La taille se fait après les gros froids d'hiver. Il faut faire des coupes rases qui permettent la cicatrisation rapide à l'aide d' un sécateur pour les petites branches et une scie ou compresseur pour les branches plus grosses que 1.25 cm de diamètre.
La taille a deux buts: Quand le pommier est jeune, la taille lui procure une plus grande force, développe sa charpente et lui permettra de supporter le poids de fortes récoltes à l'âge adulte. Ainsi, un an après la plantation, les branches maîtresses (charpentières) portent des pousses dont certaines doivent être élaguées notamment celles qui prennent naissance de chaque côté des branches charpentières. Il faut aussi enlever les gourmands (petites branches nuisibles qui ne produisent pas de pommes et qui poussent à la verticale partout dans l'arbre).
Plus tard, la taille consistera surtout à éclaircir le pommier en enlevant des branches à l'intérieur pour accroître la pénétration de la lumière et produire une meilleure qualité de fruit et une coloration plus dense; on coupe aussi les branches qui pointent vers le sol, les gourmands ainsi que les branches du sommet de l'arbre pour stabiliser les pommiers à une même hauteur.
Les greffes

Un pépin de pomme mis en terre donne un pommier sauvage (sauvageon) dont les pommes seront sans valeur commerciale. Robuste, il sert de porte-greffe pour obtenir un pommier producteur d'une variété spécifique.
La méthode de greffage la plus utilisée est l'écussonnage ou greffe en T, car c'est elle qui est la plus facile à faire et à réussir. L'écusson (servant à donner la sorte de pomme choisie est prélevée sur une pousse terminale de l'année en cours qui provient d'arbres vigoureux dont les bourgeons sont bien formés. Pour voir si l'oeil (écusson) est à point, tirez sur une feuille du milieu du rameau, si l'oeil est mûr, le pétiole se détache tout seul.
Il suffit ensuite de faire une incision dans le porte-greffe dont la tête a été préalablement coupée et y mettre l'écusson choisi. Il faut ensuite enduire les plaies avec une matière plastique quelconque (ex: émulsion d'asphalte, résine, huile de lin, paraffine.)
Après le greffage, il faut tailler le rameau qui sort de l'oeil pour qu'il ne forme qu'une seule tige bien droite.
Les arrosages

Vers la fin d'avril, débute la période des arrosages. Le pomiculteur se sert alors de pulvérisateurs ou d'avions pour répandre des insecticides et des fongicides. Il y a une douzaine d'arrosages nécessaires contre les maladies et les insectes qui s'en prennent à l'arbre et à son fruit. Voici les différents stades d'arrosages:
Débourrement du bourgeon: emploi de fongicides contre la tavelure.
Débourrement avancé: emploi de fongicides contre la tavelure et emploi d'insecticides (Ethion-huile) contre la mite rouge et la cochenille virgule.

Période pré-florale: emploi de fongicides contre la tavelure et emploi d'insecticides contre la mite rouge, la punaise terne et les vers du fruit vert.
Période de floraison: emploi de fongicides seulement s'il y a risque d'infection mais aucun emploi d'insecticides à cause des abeilles.
Calice (90% pétales tombés) emploi de fongicides contre la tavelure et emploi d'insecticides contre le charançon de la prune, la punaise terne, les vers du fruit vert, la cochenille virgule.
Après le calice (8-10 jours) Même emploi que le calice - les vers du fruit vert
Mi-juin: emploi de fongicides et d'insecticides contre la tavelure et la pyrale.
Début juillet: emploi de fongicides contre la tavelure et l'emploi d'insecticides contre la pyrale et la mouche la mite rouge et mite a deux points, puceron vert

วันพุธที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2550




Petite histoire de la pomme








gravure d'Adam et Ève par Albrecht Dürer


La pomme est vieille comme le monde. Adam croqua une pomme et, depuis ce jour, le paradis n'est plus sur terre. Mais, loin de lui en vouloir, la pomme a voyagé à travers les temps et l'espace et on la retrouve un peu partout sur notre planète. Originaire d'Asie Mineure, c'est par contre le fruit le moins répandu à l'est de l'Europe.



Dans le monde mythologique, la pomme de la déesse Discorde, jetée sur la table du festin de noces de Thébis et de Pelée provoqua la guerre de Troie.


Dans l'histoire de la science, c'est grâce à une pomme, tombant d'une branche d'un pommier sous lequel était assis Newton, que ce jeune physicien de 24 ans prit conscience de la gravitation universelle.


Chez les Turcs et les Persans, gens aux multiples superstitions, il faut manger 40 pommes en soufflant sur chacune d'elle et en pensant à ce qu'on veut obtenir avant de les croquer une à une pour voir son voeu s'exaucer. S'arrêter à la 39 ième rompt le charme et les pires catastrophes peuvent s'abattre sur la maison . mais l'histoire ne dit pas en combien de temps il faut les consommer!
Sous Henri IV, on cultivait de nombreuses variétés qu'on consommait sans restriction . sauf durant la période de Noël



Croquis original d'Albert Hurterpour la réalisation du dessin animé de Blanche Neige
Chez les Turcs et les Persans, gens aux multiples superstitions, il faut manger 40 pommes en soufflant sur chacune d'elle et en pensant à ce qu'on veut obtenir avant de les croquer une à une pour voir son voeu s'exaucer. S'arrêter à la 39 ième rompt le charme et les pires catastrophes peuvent s'abattre sur la maison . mais l'histoire ne dit pas en combien de temps il faut les consommer!
Sous Henri IV, on cultivait de nombreuses variétés qu'on consommait sans restriction . sauf durant la période de Noël

Durant le Now-Rouz, le nouvel an iranien que les astrologues ont fixé le 21 ou le 22 mars selon les années, dans tous les foyers iraniens, la tradition veut qu'on apporte sur la table les haft sin, les Sept "S", soit les sept éléments symboliques dont le Sib, la pomme, symbole de vie sur la terre.
Chez les enfants, deux pommes frappèrent leur imagination. Qui ne se rappellera la pomme placée sur la tête du fils de Guillaume Tell et la pomme donnée à Blanche-Neige par la méchante sorcière. Saviez-vous qu'au tout début, la pomme était un fruit toxique contenant du cyanure .
Les premiers pommiers arrivèrent en Nouvelle-France dans les bagages de Louis Hébert en 1617 mais il faut attendre 1650 pour voir le premier verger planté par les Sulpiciens sur les flancs du Mont-Royal. à la fin du XIXe siècle, les gloires de l'époque étaient les Fameuses, les Pommes grises, Bourassa, Golden Russet, Tallman Sweet, Late Strawberry et Blue Permain.








ว้าวๆๆ......


วันพุธที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2550

La viande


La viande [n.f.] ลา วิ-ออง เนื้อสัตว์


agneau [n.m.]
อาน-โย
(เนื้อ)ลูกแกะ

mouton [n.m.]
มู-ตง
(เนื้อ)แกะ

- gigot [n.m.]
ชิ-โก
(เนื้อ)น่องลูกแกะหรือ(เนื้อ)น่องแกะ

- côtelette [n.f.]
โก๊ต-แลต
(เนื้อ)ซี่โครงแกะ, (เนื้อ)ซี่โครงหมู

- côte (de boeuf, de porc)
โก๊ต(เตอ) (เดอ เบิ๊ฟ, เดอ ปอร์)
ซี่โครง (วัว, หมู)

boeuf [n.m.]
เบิ๊ฟ
(เนื้อ)วัว

veau [n.m.]
โว
(เนื้อ)ลูกวัว

- entrecôte [n.f.]
ออง-เทรอะ-โก๊ต
(เนื้อ)ซี่โครงวัว, เนื้อซี่โครงลูกวัว

- filet [n.m.]
ฟิ-เล
เนื้อสันใน(วัว)

- faux filet [n.m.]
โฟ ฟิ-เล
เนื้อสันนอก(วัว)


- cuisse de poulet [n.f.]
กุ๊ยส์ เดอ ปู-เล
น่องไก่

- aile de poulet [n.f.]
ไอ เดอ ปู-เล
ปีกไก่


oeuf [n.m.] (des oeufs)
เอิ๊ฟ (พหูพจน์อ่าน เออ -> เด เซอ)
ไข่


porc [n.m.]
ปอร์
เนื้อหมู

cochon [n.m.]
โก-ชง
เนื้อหมู

- jambon [n.m.]
ชอง-บง
หมูแฮม

- lard [n.m.]
ลาร์
เบคอน

- saucisson [n.m.]
โซ-ซิส-ซง
ใส้กรอกใหญ่ๆที่สุกหรือตากแห้ง

- saucisse [n.f.]
โซ-ซิส
ใส้กรอก(รับประทานสุกๆเท่านั้น)

- salami [n.m.]
ซา-ลา-มิ
ใส้กรอกตากแห้งรสเค็ม

- pâté [n.m.]
ปา-เต้
อาหารบดแบบใช้ทาขนมปัง

- charcuterie [n.f.]
ชาร์-กื-เตอ-รี
ผลิตภัณท์จากเนื้อหมู เช่น ไส้กรอก หมูแฮม

- boudin [n.m.]
บู-แดง
ไส้กรอกเลือดหมู

volaille [n.f.]
โว-ไล(เยอ)
(เนื้อ)สัตว์ปีก

poulet [n.m.]
ปู-เล
(เนื้อ)ไก่

canard [n.m.]
กา-นาร์
(เนื้อ)เป็ด

dinde [n.f.]
แดง(เดอ)
(เนื้อ)ไก่งวง

Les légumes++

Les légumes [n.m.] เล เล-กืม ผัก
artichaut [n.m.]
อาร์-ติ-โช
อาร์ติชอต

asperges [n.f. pl.]
อาส-แปร์ช(เชอ)
หน่อไม้ฝรั่ง

aubergine [n.f.]
โอ-แบ-ชีน(เนอ)
มะเขือ
betterave [n.f]
แบ-เตอ-ราฟ(เฝอะ)
หัวผักกาด

brocoli [n.m.]
บรอ-โก-ลิ
บรอกโคลี่

carotte [n.f]
กา-รอต(เตอ)
แครอท

céleri [n.m]
เซ-เลอ-ริ
ผักชนิดหนึ่งคล้ายต้นคึ่นไช่ แต่ต้นใหญ่กว่ามาก

chou [n.m]
ชู
กระหลํ่าปลี
citrouille [n.f]
ซิ-ทรุย(เยอะ)
ฟักทอง

chou-fleur [n.m.]
ชู-เฟลอร์
กระหลํ่าดอก
champignon [n.m.]
ชอง-ปิน-ยง
เห็ด

วันอาทิตย์ที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2550

ศัพท์ใหม่..

คำศัพท์ [Lexique]
:
- liste (n.f.) = บัญชีรายชื่อ, รายการ / liste d'invitations = รายชื่อแขกที่รับเชิญ
- ajouter (v.) = เพิ่ม, เพิ่มเติม
- inviter (v.) = เชิญ / invitation (n.f.) = การเชิญ / invité(e) = แขกผู้รับเชิญ
- à cause de (loc. pré.) = เนื่องจาก, มีสาเหตุมาจาก (มักใช้กับสาเหตุทำนองไม่ดี)- après tout (loc. pré.) = ในที่สุด, สรุปแล้ว
- affaire (n.f.) = เรื่องราว, ธุรกิจ, การงาน
- déjà (adv.) = แล้ว, ล่วงไปแล้ว
-bouteille (n.f.) = ขวด
- jus (n.m.) [อ่าน : ชือ] = น้ำคั้นผลไม้, น้ำที่ไหลออกมาจากเนื้อย่าง / jus de fruit, [น้ำผลไม้] jus d'orange; jus d'ananas, [น้ำสับปะรด] ...
- eau minérale (n.f.) = น้ำแร่
- baguette (n.f.) = ขนมปังยาวๆเรียวๆ (ที่คนฝรั่งเศสชอบมาก)
- suffire (v.) = พอ, มีเพียงพอ, พอแล้ว / Ça (cela) suffit. = พอแล้ว, ใช้การได้แล้ว, เพียงพอแล้ว
- heureusement (adv.) = โชคดี, เคราะห์ดี
- lourd (adj.) = หนัก # léger, légère = เบา
- donner (qqch) à manger à qqn = หา(อะไร)ให้ใครกิน

อารมณ์และความรู้สึก....

Les sentiments et les émotions...
La joie, le bonheur [ความร่าเริง, ความยินดี, ความสุข]
La tristesse [ความเศร้า
La colère [ความโกรธ]
La peur [ความกลัว]
La surprise [ความประหลาดใจ]
L'ennui [ความเบื่อหน่าย]

วันพฤหัสบดีที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2550

วันพุธที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2550

Falling Images, MySpace Codes, MySpace Layouts, MySpace Glitter Graphics from DressUpMySpace.com

เล่นเกมแก้เครียดก้านน้า..................

PAGE DES JEUX
JEUX EN LIGNE [เกมส์ออนไลน์]


Question pour un champion : http://www.tv5.org/TV5Site/qpuc

Jeux sur Disney & Winnie l'Ourson, et etc. : http://www.merveilleux.ca

Jeux de Radio-canada : http://radio-canada.ca/jeunesse/jeux

Jeux avec le Petit Prince : http://www.lepetitprince.com/jeux/index.php

Toojeux : http://www.toojeux.com

Les Jeux d'Enfants (Les trésors de Catherine) : http://www.tresors.ca

Jeux TV-REVEIL online : http://www.tv-reveil.com

Snackers and ladder : http://www.usinaquiz.ovh.org/jeux/serpent/sal.htm Le serpent infernal (เจ้างูน้อย)

Jouez avec Planète Québec : http://planete.qc.ca/jeux

Vieux Jeux d'Arcade en ligne gratuits : http://www.1980-games.com

Jeux Gratos : http://www.jeuxgratos.net

**


วันจันทร์ที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2550














ไม่ด้ายมาอัพซะนาน....

หมวดเสื้อผ้านะ

* un vêtement sur mesure = เสื้อผ้าวัดตัวตัด
un vêtement prêt-à-porter = เสื้อผ้าสำเร็จรูป
* un vêtement à la mode = เสื้อผ้าทันสมัย
* un vêtement démodé = เสื้อผ้าล้าสมัย
* un vêtement d'homme (de femme), (d'enfant) = เสื้อผ้าชาย (หญิง), (เด็ก)
* un vêtement unisexe = เสื้อผ้าชายหญิง
* un sous-vêtement = ชุดชั้นใน
* un vêtement, un habit, un costume, une tenue = เสื้อผ้า, ชุด
* une toilette, une toilette d'été = เสื้อผ้าสตรี
* le linge (laver, repasser le linge) = (เสื้อ)ผ้า (ซัก, รีดเสื้อผ้า)
* des fringues (fam.) = เสื้อผ้า
un bijou, un joyau, une parue = เครื่องประดับ
- un collier = สร้อยคอ
- un pendentif = จี้
- un bracelet = สร้อยข้อมือ
- une bague = แหวน
- une boucle d'oreilles = ต่างหู
- une broche = เข็มกลัดติดเสื้อ
- un anorak = เสื้อสกี
- une blouse = เสื้อสตรี, ชุดใส่กันเปื้อน เช่นชุดพยาบาล
- un blouson = เสื้อแจ็กเกต
- des bas = ถุงน่อง, ถุงเท้ายาว
- un bustier = ชุดสตรีแบบยกทรงไม่มีสาย
- un bermuda = กางเกงขาสั้นแบบยาวถึงเข่า
- un béret = หมวกเบเร่
- un bonnet = หมวก(แบบไม่มีขอบ)
- des bottes = รองเท้าบูต

วันอาทิตย์ที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2550

สำนวน....

Avoir un nom à coucher dehors. » : Avoir un nom très difficile à prononcer et / ou à retenir. [มีชื่อที่ออกเสียงยาก หรือ จำได้ยาก]

« Avoir du chien. » : Pour une femme, avoir un charme un peu canaille, du sex-appeal. [สำหรับผู้หญิง : มีเสน่ห์แบบยั่วๆนิดหน่อย]

« Aller à vau - l'eau. » : Aller à sa perte, péricliter. [ไปสู่ความสูญเสีย, ตกอยู่ในอันตราย]


« L' avoir dans le baba. » : Se faire avoir, Rater quelque chose, Subir un échec. [โดนหลอก, ล้มเหลว]

« Avoir du pain sur la planche. » : Avoir beaucoup de travail, de tâches à accomplir. [มีงานมากที่ต้องทำให้เสร็จ]

« Au diable vauvert. » : Extrêmement loin. [ไกลสุดๆ, ไกลมาก ]


« Avoir le cafard. » : Avoir des idées noires, être déprimé. [เศร้า, ไม่สบายใจ, ท้อแท้]

« Avoir la science infuse. » : Savoir sans avoir appris. / Prétendre tout savoir. [รู้เอง, อ้างว่ารู้ทุกเรื่อง]

« Avoir les boules. » : Être très énervé, En avoir assez, Avoir peur. [หงุดหงิด, เบื่อ, กลัว]

« As de pique. » : Personne à l'apparence bizarre ou mal habillée. [คนที่มีลักษณะแปลกๆ หรือ แต่งตัวไม่ดี]

วันศุกร์ที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2550

น่ารักจัง




น่าเศร้าชะม้าดๆๆๆๆๆๆๆๆๆ..ง่วงๆๆ

วันนี้เรียนฝรั่งเศสโครตง่วงเย้ยอ่ะ.............จ้าหลับก้อหลับม้ายด้ายม่ายงั้นด้ายโดด อ.เกรียงโบกแน่ๆๆเย้ย.........(ถ้าเปนวิชาอื่นอาจงีบด้ายบ้าง) ปล.วิชานี้โหดอย่าเสี่ยงถ้าไม่อยาก..........................ไปคิดเองแหละก้านคร้าบๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆ

วันพฤหัสบดีที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2550

วันอังคารที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2550

มารู้จักเล ฟรุย ของฝรั่งเศสก้านดีกว่า


Les fruits [n.m.]
เล ฟรุย
ผลไม้



marron [n.m.]
มา-รง
ผลเกาลัด

melon [n.m.]
เมอ-ลง
แตงเมล่อน

melon d'eau / pastèque [n.f.]
เมอ-ลง โด / ปาส-แตก(เกอ)
แตงโม

มะกอก

orange [n.f.]
โอ-รอง(เชอ)
ส้ม

pamplemousse [n.m.]
ปอง-เปลอ-มูส(เซอ)
ส้มเกลี้ยง

pastèque [n.f.]
ปาส-แตก(เกอ)
แตงโม

pêche [n.f.]
แปช(เชอ)
ลูกพีช (ผลท้อ)

poire [n.f.]
ปัว(เรอ)
ผลสาลี่

ข้อมูลทั่วไปของฝรั่งเศส

ช้อปปิ้ง
น้ำหอม นักท่องเที่ยวทั่วไปนิยมซื้อน้ำหอมยี่ห้อที่ฝรั่งเศสเป็นต้นตำรับ ซึ่งราคาจะถูกกว่าที่นำมาขายในต่างประเทศมาก เมืองที่มีชื่อเสียงในการผลิตหัวน้ำหอมกลิ่นต่างๆ ได้แก่เมืองนีส คานส์ ริเวียร่า เป็นต้น ยี่ห้อน้ำหอมที่ขึ้นชื่อที่ฝรั่งเศสเป็นเจ้าตำรับได้แก่ Christian Dior และน้ำหอมของ Caron, Givenchy, Rochas, Guerlain, Paco Rabanne เป็นต้น
เสื้อผ้าและสินค้าแฟชั่น ฝรั่งเศสมีชื่อเสียงมากโดยเฉพาะศูนย์รวมของดีไซเนอร์ชื่อดัง และเป็นต้นฉบับของแฟชั่นทั่วโลก
เครื่องดื่มที่มีแอลกฮอล์
ฝรั่งเศสมีชื่อด้านนี้อย่างมากโดยเฉพาะอย่างยิ่ง คือ การเป็นแหล่งผลิตของไวน์ และแชมเปญที่สำคัญที่สุดของโลกในปัจจุบัน
ไวน์ (Vin) หรือเหล้าองุ่นเริ่มผลิตขึ้นในฝรั้งเศสเป็นครั้งแรกตั้งแต่ยุคโรมัน โดยกองทัพโรมันที่เข้าปราบปรามอนารยชนได้นำวิธีการทำเหล้าองุ่นมาเผยแพร่และได้สืบทอดการทำไร่องุ่น และเหล้าไวน์มาจนปัจจุบัน ในหมู่นักดื่มไวน์นั้น ถือว่าไวน์ฝรั่งเศสเป็นไวน์ที่ดีทีสุดในโลก แหล่งผลิตไวน์ที่ขึ้นชื่อไดแก่ บอร์โดซ์ (Bordeux) เบอร์กันดี ชองปาญ อัลซาส ลัวร์ โรน โพรวองซ์ จูราและซาวอย และทางตอนใต้สุดของประเทศ
ไวน์แบ่งออกเป็น 3 สี คือ ไวน์ขาว (Blanc) ไวน์แดง (Rouge) และไวน์สีชมพู (Rose) โดยทั่วไปจะนิยมไวน์ขาว และไวน์แดง แต่ไวน์สีชมพูจะไม่เป็นที่นิยมและมักถือว่าเป็นไวน์ที่ดื่มเล่นๆเสียมากกว่า
รสชาติของไวน์นั้นจะแบ่งออกเป็น
But = ธรรมดา, Sec = หวานเล็กน้อย, Demi-sec = หวาน, Doux = หวานมาก
คุณภาพของไวน์ที่ผลิตในฝรั่งเศสนั้นรัฐจะควบคุมให้ได้มาตรฐาน โดยแบ่งออกเป็น 4 ลำดับขั้น คือ
1) Appellation d'Origine Controlee (AOC) เป็นไวน์ที่แจ้งรายละเอียดการผลิต ที่ผลิต การบรรจุขวด การบ่มไวน์อย่างละเอียดบนป้ายฉลาดขวด เป็นไวน์คุณภาพสูง และสามารถมีราคาสูงได้เป็นพันเป็นหมื่นบาทขึ้นอยู่กับปีที่ผลิตเป็นสำคัญ
2) Vins Delimite de Qualite Superieure (VDQS) เป็นไวน์คุณภาพสูง เช่นเดียวกับไวน์ที่มี AOC ต่างกันตรงเป็นไวน์ที่ผลิตจากแหล่งใดแหล่งหนึ่งหรือสถานที่แห่งหนึ่งเป็นพิเศษ ซึ่งสถานที่นั้นๆได้รับการรับรองว่าผลิตไวน์ได้คุณภาพ เช่นไวน์จากบอร์โดซ์ ซึ่งจะบรรจุขวดรูปทรงไม่เหมือนกับไวน์ที่อื่นๆ ไวน์แบบนี้มีราคาสูงเช่นกัน
3) Vin de Pays หรือไวน์ท้องถิ่น ราคาไม่ค่อยแพง คุณภาพปานกลางมักเสิร์ฟตามร้านอาหารทั่วไป
4) Vin De Table หรือไวน์ธรรมดาๆ คุณภาพปานกลาง มักเสิร์ฟตามร้านอาหารแบบชาวบ้านโดยใส่มาเป็นเหยือก (carafe)
องุ่นต่างพันธุ์จะให้รสชาติของไวน์ที่ต่างกันไป ชื่อพันธุ์องุ่นจะถูกบ่งบอกไว้ที่ขวดด้วย พันธุ์องุ่นที่กล่าวกันว่าดี ให้ไวน์รสกลมกล่อม นุ่มละมุนเป็นที่นิยมกันก็ คือ
pinot noir, pinot gris, pinot blanc, muscat, riesling, cabernet sauvignon, cabernet franc, merlot, petit verdot, malbec, muscadet, sauvignon, chenin blanc, gamay
นอกจากนี้ยังมีประเภท เครื่องสำอาง, กระเป๋าและเครื่องหนัง, ผ้าลูกไม้ฝรั่งเศส
อาหารการกิน
ในสมัยก่อนคนฝรั่งเศสสามัญชนโดยเฉพาะในชนบท จะถืออาหารกลางวันเป็นอาหารหลัก ส่วนในราชสำนักจะถือมื้อเย็นเป็นสำคัญ แต่ในปัจจุบันเวลาอาหารปกติ คือ กลางวัน 12.00-14.00 น. เย็น 20.00-22.00 น.
เพราะฉะนั้นตามเมืองใหญ่ๆ โดยเฉพาะปารีสร้านอาหารอาจเปิดประมาณ 11.30 น. ถึง บ่าย 2 โมง และเปิดอีกครั้งเวลา หนึ่งทุ่มไปจนถึงเที่ยงคืน บางร้านอาจเปิดไปจนถึงตีสองหรือตีสามเพื่อรับนักท่องเที่ยวราตรีโดยเฉพาะ
อาหารเย็นแบบเต็มยศ จะประกอบด้วยอาหารตั้งแต่ 6 จาน (คอร์ส) ขึ้นไป เสิร์ฟไวน์ตลอดเวลา ไม่นิยมเครื่องดื่มชนิดอื่นระหว่างรับประทานอาหารนอกจากน้ำหากไม่ดื่มไวน์
ภัตตาคารที่หรูหราจะเสิร์ฟอาหารแบบเต็มยศ ซึ่งจะสั่งเพียง 2 หรือ 3 คอร์สก็ได้ การสั่งอาหารในภัตตาคารหรูจะเรียงลำดับดังนี้
1. Aperitif (เหล้า หรือ เครื่องดื่มสำหรับจิบเรียกน้ำย่อย)
2. Entree และ/หรือ ออร์เดิร์ฟ (อาหารจานแรก อาจมีซุปต่ออีกคอร์สก็ได้)
3. Plat Pricipal (อาหารจากหลัก)
4. Salade (สลัดเสิร์ฟเคียงกับอาหารจานหลัก)
5. Fromage (เนยแข็งชนิดต่างๆ วางบนถาดไม้)
6. Dessert (ของหวาน)
7. Fruit (ผลไม้)
8. Cafe หรือ The (กาแฟ หรือ ชา)
9. Degestif (เหล้าหลังอาหาร)
รูปแบบของอาหาร ได้มีการแบ่งรูปแบบอาหารออกเป็นลำดับชั้น คือ
1. Haute Cuisine อาหารที่ปรุงอย่างหรูหราสำหรับคนร่ำรวยใช้เวลาในการเตรียมนาน และเมื่อเสิร์ฟก็ต้องตกแต่งอย่างสวยงาม
2. Cuisine Bougeoise อาหารที่ทำกินกันเองในบ้าน แต่ใช้เครื่องปรุงที่มีคุณภาพ
3. Nouvelle Cuisine อาหารแนวใหม่ใช้เครื่องปรุงธรรมชาติแบบดูแลสุขภาพ เหมาะสำหรับผู้ที่สนใจลดน้ำหนัก
4. Cuisine des Province อาหารพื้นบ้านชนบทใช้เนื้อสัตว์และผักนานาชนิด โดยไม่แปรรูปให้วิจิตรพิสดาร
ร้านอาหาร ร้านอาหารในฝรั่งเศสแม้หน้าตาคล้ายๆ กัน แต่อาจเรียกไม่เหมือนกัน ด้วยลักษณะของอาหารที่ขายรวมทั้งเครื่องดื่มด้วย
1. Restaurant คือ ภัตตาคาร มักจะขายอาหารเฉพาะอย่างเช่น อาหารไทย, อาหารเวียดนาม หรืออาหารทะเล รวมทั้งร้านที่ขายเฉพาะอาหารฝรั่งเศสด้วย จะเปิดขายอาหารกลางวันถึงประมาณบ่ายสามโมงแล้วปิด จะขายอาหารเย็นอีกครั้งราวหกโมงครึ่งไปจนถึง 4-5 ทุ่ม การสั่งอาหารจะค่อนข้างใช้เวลานาน
2. Brasserie คือ ร้านอาหารที่เปิดขายตั้งแต่เช้าจรดเย็นโดยไม่มีเวลาหยุดพัก และมีอาหารเสิร์ฟทั้งวัน
3. Cafe คือร้านกาแฟ เป็นแหล่งชุมชนของผู้คนในละแวกนั้น จะเสิร์ฟอาหารแบบง่ายๆ อาทิ แซนวิช หรือ ครัวซอง แต่ส่วนใหญ่จะเป็นกาแฟ หรือเครื่องดื่มอื่นๆ
4. Salon de The เป็นภาคที่หรูหราของคาเฟ่ เสิร์ฟอาหารเบาๆ พวกสลัด หรือ แซนวิช และมีขนมอบ ขนมหวาน เครป และไอศกรีมให้รับประทาน ส่วนใหญ่จะเปิดสายๆถึงหัวค่ำ
5. Boulandgerie หรือร้านขายขนมปัง สดใหม่น่ารับประทาน จะเปิดแต่เช้าและปิดตอนใกล้ค่ำ
6. Patisserie ร้านขายขนมอบนานาชนิด ไม่ว่าจะเป็นเพสตรี เอแคลร์ หรือครัวซอง บางร้านมีโต๊ะวางไว้เผื่อลูกค้าจะนั่งในร้าน และมีชา กาแฟเสิร์ฟ ด้วย
7. Confiserie หมายถึงร้านที่ขายของหวานจำพวกช็อคโกเลต ลูกกวาด ผลไม้เชื่อม ในบางร้านอาจมีเค้ก พาย ที่แต่งอย่างหน้ารัก สวยงาม และพอคำ
อาหารจานเด็ด หากไปถึงฝรั่งเศสอย่าลืมลิ้มลองอาหารขึ้นชื่อเหล่านี้
1. Fruits de mer คืออาหารทะเลสดๆ ประกอบด้วยกุ้ง หอย และปูหลากชนิดลวกพอสุก จัดวางบนน้ำแข็งเกล็ดในถาดใบโต รับประทานโดยการบีบมะนาว และจิ้มน้ำส้มสายชูใส่หัวหอมซอย ถ้าจะให้ดีต้องกลั้วคอด้วยไวน์ขาว และแนมให้หนักท้องด้วยข้าวไรย์ทาเนย อาหารจานนี้เป็นอาหารเมืองชายทะเลภาคตะวันตก
2. Cog au vin หรือ ไก่อบซอสไวน์แดงใส่หอม และเห็ดดุม เป็นอาหารที่ภัตตาคารแทบทุกแห่งจะต้องบรรจุไว้ในเมนู
3. Soupe a l oignon หรือซุบหัวหอม เป็นอาหารที่สำคัญอีกจานหนึ่ง หอมหัวใหญ่จะถูกหั่นเป็นเส้นบางๆ เคี่ยวจนเกือบเละในน้ำซุปรสเข้ม เมื่อจะเสิร์ฟ จึงลอยขนมปังที่อบร้อนโดยมีเนยแข็งวางอยู่ข้างบน
4. Escargots a la Bourguignonne หอยทากเอสคาร์โกอบจนสุก พอออกจากเตาร้อนๆก็เอาเนยสดที่ผสมเครื่องเทศใส่ลงไปจนเต็มปากหอย รับประทานเรียกน้ำย่อย
5. Pate de foie gras ตับบดปรุงรสด้วยเครื่องเทศ ทำจากตับห่านหรือตับเป็ด หากไม่บดก็อาจเป็นชิ้นๆ ปรุงด้วยเหล้าบรั่นดี
ขนมปัง

ขนมปังของฝรั่งเศสที่เรียกว่า บาแกตต์ (Baquette) มีเอกลักษณ์พิเศษกว่าใคร ด้วยการทำเป็นทรงยาวกว่า 2 ฟุต เส้นผ่าศูนย์กลาง 2-3 นิ้ว เวลาทานมักบิออกด้วยมือ หรือฝานออกเป็นชิ้นๆ อีกชนิดที่นิยมคือ ครัวซอง

ขนมหวาน
ขนมหวานที่เป็นที่รู้จักกันดี ได้แก่
1. เครป (Crepe) เป็นเสมือนอาหารว่างมากกว่า พบเห็นทั่วไป ที่ขึ้นชื่อที่สุดคือ เครปซูเซตต์ หรือเครปน้ำตาลใส่น้ำส้มและเหล้า
2. มารองกลาสเซ่ (Marron Glace) หรือเกาลัดเชื่อมหวานสนิม ร้านที่ขายที่ขึ้นชื่อ คือร้าน Fauchon
3. เอแคลร์ (Eclair) ขนมอบใส่ใส้ครีม
ขนมว่าง
เป็นอาหารง่ายที่กินระหว่างมื้อ ที่ขึ้นชื่อก็คือ โคร้ก เมอซิเออร์ (Croque monsieur) ซึ่งเป็นแซนวิชวางแฮมและเนยแข็งไว้ข้างบนแล้วเข้าอบ ถ้าวางไข่ดาวด้วยเรียก โคร้ก มาดาม (Croque madam)
เนยแข็ง

ชนิดของเนยแข็งฝรั่งเศสที่ขึ้นชื่อ อาทิ
1. รอคฟอร์ต (Roquefort) เนยกลิ่นแรงรสจัดมีเส้นสีฟ้าๆอยู่ในเนื้อเนย
2. กามองแบร์ (Camembert) เนยสีขาวนวลเนื้อนิ่ม มีเปลือกสีขาวรอบนอก ซึ่งกินได้ แต่ไม่ค่อยกิน
3. บรี (Brie) เนยสีฟ้า หรือ Blue
ภาษาฝรั่งเศสที่ควรรู้
ไทย ฝรั่งเศส ออกเสียง
สวัสดี (ตอนเช้า) Bonjour บงชู
สวัสดี (ตอนเย็น) Bonsoir บงซัว
ลาก่อน Au revoir โอ (เครอ) วัว
ใช่ Oui หวิ
ไม่ Non น็อง
กรุณา S'll vous pla t ซิล วู เปล
ขอบคุณ Merci แม็ก ซิ
ขอโทษ Pardon ปากดง
Excusez-moi เอกซ์กูเซ มัว
สบายดีหรือ Comment allez-vous กอมมอง ตาเล วู้
คุณชื่อว่าอะไร Comment Vous กอม มอง วู
ฉันชื่อว่า Je m'appelle เชอ มาแปล์ว
ของนี้ราคาเท่าไร C'est combien เซ กง เบียง
ของนี้แพงเกินไป C'est trop cher เช โทรบ์ แชร์
ฉันต้องการซื้อ Je voudrais acheter เชอ วูเดร อะ เชเต้
ห้องน้ำอยู่ไหน Ou est la toillette อู เอ ลา ตัวแลต