วันพุธที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2551

1« Se mettre martel en tête. » : Se faire du souci, se laisser obséder par une inquiétude [ปล่อยให้ตนเองถูกครอบงำด้วยความกังวล]

2« La montagne accouche d'une souris. » : Par rapport aux attentes ou à l' ambition d'un projet, le résultat est extrêmement décevant. [เมื่อเปรียบเทียบกับความคาดหวัง หรือ ความมุ่งมั่นของโครงการ ผลออกมาเป็นที่น่าผิดหวังอย่างยิ่ง

3« Mettre (avoir) du foin dans ses bottes. » : Accumuler (avoir) beaucoup d'argent. [เก็บ (มี) เงินได้มาก]

4« Mordre la poussière. » : Être jeté à terre au cours d'un combat. [ถูกส่งลงไปกองอยู่ที่พื้นตอนต่อสู้กัน (ภาษาไทย = กินฝุ่น)]Par extension [ความหมายที่ขยายออกไป] : Être vaincu. [แพ้, พ่ายแพ้]

5« Mettre sa main au feu. » : Être sûr de/affirmer fermement quelque chose. [มั่นใจ / ยืนยันอย่างหนักแน่น]

6« Mettre du beurre dans les épinards. » : Améliorer ses conditions de vie, gagner plus d'argent. [มีสภาพชีวิตที่ดีขึ้น, มีรายได้มากขึ้น]

7« Mettre en boîte. » : Se moquer de quelqu'un, de sa naïveté. [หัวเราะเยาะใคร (ในความซื่อของเขา)]Par extension, l'énerver. (ความหมายที่ขยายออกไป) [กวนประสาทใคร, ทำให้ใครหงุดหงิดหรือรำคาญ]

8« Se mettre le doigt dans l'oeil. » : Se tromper grossièrement. [ผิดพลาดแบบชุ่ยๆ]

9« Mon petit doigt m'a dit. » : Je l'ai appris ou entendu par une source que je ne veux pas dévoiler. [ฉันได้รู้หรือได้ยินมาจากแหล่งข่าวที่ฉันไม่อยากเปิดเผย] / Je soupçonne que tu veux me le cacher. [ฉันสงสัยว่าเธอคงอยากปิดบังสิ่งนั้นกับฉัน]

10« Marcher à côté de ses pompes. » : Faire n'importe quoi. / Être dans un état anormal (en train de rêver, mal réveillé, pas encore dégrisé, totalement déconcentré...).. [ทำอะไรชุ่ยๆ / อยู่ในสภาพไม่ปรกติ (กำลังฝัน, ยังไม่ตื่นดี, ยังไม่สร่างเมาหรือได้สติดี, ไม่มีสมาธิเลย)]
N

วันอาทิตย์ที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2551

- biodiversité (n.f.) = ความหลากหลายทางชีวภาพ [bio_ = เกี่ยวกับชีวะ / diversité = ความหลากหลาย]
- fait (n.f.) = เหตุการณ์ / du fait que = ด้วยเหตุที่...
- soit (subjonc. du verbe être)
- espèce (n.f.) = ชนิด, พันธุ์
- multiple (adj.) = หลากหลาย
- côte à côte (loc. adverbiale) = ที่อยู่ข้างๆกัน, เคียงข้างกัน
- les uns(les unes) les autres (loc. pronominale) = ซึ่งกันและกัน
- perdurer (v.) = คงอยู่ต่อไป, มีอยู่ต่อไป
- publier (v.) = พิมพ์, พิมเผยแพร่
- rapport (n.m.) = รายงาน
- alerter (v.) = เตือนภัย / alerte (n.f.) = การเตือนภัย
- chiffre (n.m.) = ตัวเลข
- menacer (v.) = ข่มขู่, คุกคาม

"คะแนนสอบ Admission ไทย - สังคม"

"คะแนนสอบ Admission ไทย - สังคม"
น้องๆ ที่กำลังเตรียมตัวสอบ Admission คงทราบกันดีว่า สัดส่วนคะแนน O-NET วิชาไทย + สังคม ค่อนข้างจะใช้เยอะพอสมควรทีเดียว ซึ่งถ้าเป็นไปได้ ครูอยากให้น้องๆทำคะแนน 2 วิชานี้กันให้ได้มากๆ ครูก็เลยช่วยสรุปให้ว่า คณะที่เราจะเข้านั้น จะต้องใช้เปอร์เซ็นต์คะแนนของทั้งวิชา ไทย และ สังคม เท่าไหร่ น้องๆ จะได้ดูแล้วเข้าใจง่ายขึ้น และไม่เสียเวลาด้วยล่ะ
1. ไทย + สังคม 14 %
- วิทย์สุขภาพ
- วิทย์
- บริหาร บัญชี เศรษฐศาสตร์
- ศิลปกรรมศาสตร์
- รัฐประศาสนศาสตร์ (รปส.)
- รัฐศาสตร์ปกครอง / บริหารรัฐกิจ ที่ไม่เลือกสอบ สังคม A-NET


2. ไทย + สังคม 16 %
- วิทย์กีฬา (แบบที่ 1)
- วิศวะ
- สถาปัตย์
- เกษตร
- ครุ (เอกที่ไม่ใช่ไทย - สังคม)


3. ไทย + สังคม 20 %
- สังคมวิทยา มนุษยวิทยา สังคมศาสตร์แบบที่ 2
- มนุษยศาสตร์ ศิลปศาสตร์ อักษรศาสตร์ ที่ไม่เลือกสอบ ไทย A-NET ,สังคม A-NET


4. ไทย + สังคม 24 %
- มนุษยศาสตร์ ศิลปศาสตร์ อักษรศาสตร์ (แบบที่ 3 , แบบที่ 4)


5. ไทย + สังคม 28 %
- สุขศึกษา และพลศึกษา
- การจัดการท่องเที่ยว
- นิเทศ - วารสาร
- สังคมวิทยา มนุษยวิทยา สังคมศาสตร์ (แบบที่ 1)
- มนุษยศาสตร์ ศิลปศาสตร์ อักษรศาสตร์ (แบบที่ 8 , แบบที่ 9)


6. ไทย + สังคม 30 %
- มนุษยศาสตร์ ศิลปศาสตร์ อักษรศาสตร์ (แบบที่ 1 , แบบที่ 2)


7. ไทย + สังคม 31.5 %
- รัฐศาสตร์ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ


8. ไทย + สังคม 36 %
- วิทย์กีฬา (แบบที่ 2)
- ครุศาสตร์ (เอกไทย , เอกสังคม , เลือกสอบ A-NET ไทย + สังคม)


9. ไทย + สังคม 37 %
- นิติศาสตร์


10. ไทย + สังคม 40 %
- สังคมสงเคราะห์


11. ไทย + สังคม 46 %
- มนุษยศาสตร์ ศิลปศาสตร์ อักษรศาสตร์ (แบบที่ 6 , แบบที่ 7)


12. ไทย + สังคม 49 %
- รัฐศาสตร์การปกครอง / บริหารรัฐกิจ เลือกสอบ สังคม A-NET


13. ไทย + สังคม 55 %
- มนุษยศาสตร์ ศิลปศาสตร์ อักษรศาสตร์ (แบบที่ 5)